ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตอนที่ 2: เจ้าเมืองจอมขี้เกียจ"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 9 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 36: แถว 36:
 
นิยามพหุนาม  
 
นิยามพหุนาม  
  
:: <math> f_i = F(x, a_i) \mbox{ dd }</math>
+
:: <math> f_i = F(x, a_i) </math>
  
ให้มองพหุนาม <math>f_i</math> ในรูปแบบของเว็กเตอร์ (สำหรับคนที่ไม่คุ้นเคยกับแนวคิดแบบนี้ ตัวอย่างการมองพหุนามในแบบของเว็กเตอร์คือ การมอง <math>1+x+2x^3</math> ในรูปของ <math>(1,1,0,2)</math>)  ก่อนอื่นเราจะพิสูจน์ว่า <math>f_1, f_2, \ldots, f_m</math> เป็นเว็กเตอร์ที่ไม่ขึ้นต่อกัน
+
ให้มองพหุนาม <math>f_i</math> ในรูปแบบของเว็กเตอร์ (สำหรับคนที่ไม่คุ้นเคยกับแนวคิดแบบนี้ ตัวอย่างการมองพหุนามในแบบของเว็กเตอร์คือ การมอง <math>1+x+2x^3</math> ในรูปของ <math>(1,1,0,2)</math>)  ก่อนอื่นเราจะให้ผู้่อ่านเชื่อไปก่อนว่า <math>f_1, f_2, \ldots, f_m</math> เป็นเว็กเตอร์ที่ไม่ขึ้นต่อกันเชิงเส้น แล้วเราจะกลับมาพิสูจน์ข้อความนี้ทีหลัง
  
(เดี๋ยวว่างแล้วมาเขียนต่อ)
+
สังเกตว่าหากเรามีจุดที่อยู่ในปริภูมิทั้งหมด m จุด เราสามารถสร้างเวกเตอร์ที่ไม่ขึ้นต่อกันเชิงเส้นได้ m เวกเตอร์ ดังนั้นเราจะได้ว่า
 +
 
 +
:: <math> m \le dim(V) </math>
 +
 
 +
เมื่อ V เป็นเซ็ตของพหุนามที่เป็นไปได้ทั้งหมด
 +
 
 +
:: <math> V= \{F(x,y): y \in R^n\}</math>
 +
 
 +
เราลองมาหาค่า dimension ของ V กัน จะตรวจสอบได้ไม่ยากว่าพหุนามในเซ็ต V จะอยู่ในรูปแบบต่อไปนี้
 +
 
 +
::<math> (\sum_{j=1}^{n} x^2_j)^2  + \sum_{j=1}^{n} a_j x_j (\sum_{i=1}^{n} x^2_i) + \sum_{i,j=1}^{n} b_{ij} x_i x_j + \sum_{j=1}^{n} c_j x_j + d </math>
 +
 
 +
สัมประสิทธ์ที่ไม่เป็นศูนย์ของพหุนามใน V มีได้มากที่สุดไม่เกิน
 +
:: <math> 1+ n+ n(n+1)/2 + n +1 = \frac{(n+1)(n+4)}{2} </math>
 +
ตำแหน่ง
 +
 
 +
== Lower bound ==
 +
 
 +
เราได้เห็นกันแล้วว่าเราวางจุดลงไปได้ไม่มากนัก คราวนี้ลองมาดูกันบ้างว่าเราสามารถวางจุดลงไปได้อย่างน้อยกี่จุด เราจะได้มาเห็นวิธีคิดแบบไม่ยากนักที่ทำให้วางจุดลงไปได้ <math> {n+1 \choose 2}</math> จุด
 +
 
 +
วิธีนี้สั้นอย่างมาก และผู้เขียนเองก็คงไม่สามารถค้นพบวิธีนี้ได้ด้วยตนเอง ก่อนอื่น ลองพยายามวางจุดลงไปใน <math> R^{n+1}</math> จะเห็นว่า เราวางจุดต่อไปนี้ลงไปได้
 +
 
 +
:: <math>P= \{v \in \{0,1\}^{n+1}: \sum_{i=1}^{n+1} v_i = 2\} </math>
 +
 
 +
พูดเป็นภาษามนุึษย์ก็คือ P เป็นเซ็ตของจุดที่มี 1 อยู่สองตำแหน่ง ที่เหลือเป็น 0
 +
 
 +
จะเห็นว่าระยะทางระหว่างคู่จุดใน P เป็น 2 หรือ <math> \sqrt{2} </math> เท่านั้น แต่ยังติดปัญหาอย่างหนึ่งคือ จุดเหล่านี้อยู่ใน <math> R^{n+1} </math> ไม่ใช่ <math> R^{n} </math> ปัญหานี้จะหายไปทันที ด้วยข้อสังเกตว่าจุดเหล่านี้อยู่บน hyperplane <math> \sum_{i=1}^{n+1} x_i = 2 </math> ดังนั้นมิติของเซ็ต P จึงไม่เกิน n ทำให้เซ็ต P สามารถมองว่าเป็นจุดบน <math> R^n </math> ได้
 +
 
 +
== โจทย์คิดเล่น ==
 +
 
 +
# ให้แสดงว่าปัญหาของเจ้าเมืองดนุพลกับนักคณิตศาสตร์สามารถวางจุดลงไปได้ 5 จุด และไม่สามารถวางได้มากกว่า 5
 +
# พิสูจน์ว่าปัญหาของระยะทางแบบเดียว ไม่สามารถวางจุดได้มากกว่า n+1

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:49, 28 พฤศจิกายน 2549

เกริ่น

มีเจ้าเมืองแห่งหนึ่ง นามว่าดนุพล มีนิสัยค่อนข้างเกียจคร้านและแปลกประหลาดยิ่งนัก เจ้าเมืองไม่ชอบให้บ้านในเมืองอยู่ห่างกันเกินไป จึงสั่งว่าให้ทุกบ้านในเมืองสร้างบ้านให้ระยะทางระหว่างสองบ้านใดๆเป็น 1 หรือ 2 เท่านั้น หากใครทำผิดกฎจะต้องโดนลงโทษอย่างรุนแรง ที่ต้องให้เป็นแค่สองค่า เพื่อที่จะให้ง่ายต่อเจ้าเมืองในการทำแผนที่ และการจำระยะทางระหว่างคู่บ้าน

นักคณิตศาสตร์ผู้หนึ่งมีไหวพริบเป็นเลิศจึงออกมาท้วงว่า หากเจ้าเมืองทำเช่นนั้น จำนวนบ้านที่สร้างได้จะไม่เกิน 8-9 หลังเท่านั้น หรืออาจจะน้อยกว่านั้น เจ้าเมืองรู้สึกเคืองเป็นอย่้างมากที่โดนขัดใจ จึงให้นักคณิตศาสตร์อธิบายว่า้เพราะอะไร

ปัญหา

พิจารณาปัญหาทั่วไปในปริภูมิ n มิติ ต้องการวางจุดลงไป m จุด โดยที่มีเงื่อนไขดังนี้

or สำหรับทุกๆคู่จุด i,j

ให้หาค่า m ที่มากที่สุดที่เป็นไปได้

ก่อนอื่นลองมาดูกรณีง่ายกว่านี้กันก่อน ถ้าให้ระยะทางที่เป็นไปได้มีเพียงแบบเดียว สังเกตว่าเราจะได้

โดยที่กรณีที่ใส่จุดไปได้มากที่สุดคือ วางจุดลงไปบนจุดยอดของ regular simplex (ผู้อ่านลองคิดดู)

ทีนี้ลองกลับมาดูปัญหาของเรากันบ้าง หากระยะทางที่เป็นไปได้มีสองค่า วิธีที่ดีที่สุดจะไม่ชัดเจนเหมือนกับกรณีที่มีระยะทางค่าเดียวอีกต่อไป ความเป็นไปได้จะเพิ่มขึ้นอย่างมาก ก่อนจะอ่านเฉลย ผู้อ่านลองเดากันดูว่าคำตอบของ m ที่ดีที่สุดควรเป็นเท่าใด

วิธีทำ

ปัญหานี้สามารถแก้ได้ในหลายๆทาง วิธีที่จะนำเสนอในที่นี้เป็นวิธีที่แสดงให้เห็นถึงการเชื่อมต่อของสองสิ่งที่ไม่น่าจะเข้ามาเกี่ยวข้องกันได้ (สิ่งนี้เป็นสิ่งที่มักจะเกิดขึ้นบ่อยๆในสาขาคณิตศาสตร์ซึ่งเป็นสาขาที่ไม่มีที่สิ้นสุด) หากอ่านโจทย์ดูคร่าวๆแล้ว ปัญหานี้เป็นปัญหาของ Geometry แต่วิธีที่จะนำเสนอนั้นแทบไม่เกี่ยวกับ Geometry เลยแม้แต่น้อย เราจะพิสูจน์ข้อความต่อไปนี้

ทฤษฎีบท 1: ค่าของ m ที่มากทีุ่สุดจะไม่เกิน

บทพิสูจน์: พิจารณาจุดสองจุด เราอาจจะมองว่า นิยามพหุนามหลายตัวแปร F ดังนี้

สังเกตว่าพหุนามมีคุณสมบัติคือ

นิยามพหุนาม

ให้มองพหุนาม ในรูปแบบของเว็กเตอร์ (สำหรับคนที่ไม่คุ้นเคยกับแนวคิดแบบนี้ ตัวอย่างการมองพหุนามในแบบของเว็กเตอร์คือ การมอง ในรูปของ ) ก่อนอื่นเราจะให้ผู้่อ่านเชื่อไปก่อนว่า เป็นเว็กเตอร์ที่ไม่ขึ้นต่อกันเชิงเส้น แล้วเราจะกลับมาพิสูจน์ข้อความนี้ทีหลัง

สังเกตว่าหากเรามีจุดที่อยู่ในปริภูมิทั้งหมด m จุด เราสามารถสร้างเวกเตอร์ที่ไม่ขึ้นต่อกันเชิงเส้นได้ m เวกเตอร์ ดังนั้นเราจะได้ว่า

เมื่อ V เป็นเซ็ตของพหุนามที่เป็นไปได้ทั้งหมด

เราลองมาหาค่า dimension ของ V กัน จะตรวจสอบได้ไม่ยากว่าพหุนามในเซ็ต V จะอยู่ในรูปแบบต่อไปนี้

สัมประสิทธ์ที่ไม่เป็นศูนย์ของพหุนามใน V มีได้มากที่สุดไม่เกิน

ตำแหน่ง

Lower bound

เราได้เห็นกันแล้วว่าเราวางจุดลงไปได้ไม่มากนัก คราวนี้ลองมาดูกันบ้างว่าเราสามารถวางจุดลงไปได้อย่างน้อยกี่จุด เราจะได้มาเห็นวิธีคิดแบบไม่ยากนักที่ทำให้วางจุดลงไปได้ จุด

วิธีนี้สั้นอย่างมาก และผู้เขียนเองก็คงไม่สามารถค้นพบวิธีนี้ได้ด้วยตนเอง ก่อนอื่น ลองพยายามวางจุดลงไปใน จะเห็นว่า เราวางจุดต่อไปนี้ลงไปได้

พูดเป็นภาษามนุึษย์ก็คือ P เป็นเซ็ตของจุดที่มี 1 อยู่สองตำแหน่ง ที่เหลือเป็น 0

จะเห็นว่าระยะทางระหว่างคู่จุดใน P เป็น 2 หรือ เท่านั้น แต่ยังติดปัญหาอย่างหนึ่งคือ จุดเหล่านี้อยู่ใน ไม่ใช่ ปัญหานี้จะหายไปทันที ด้วยข้อสังเกตว่าจุดเหล่านี้อยู่บน hyperplane ดังนั้นมิติของเซ็ต P จึงไม่เกิน n ทำให้เซ็ต P สามารถมองว่าเป็นจุดบน ได้

โจทย์คิดเล่น

  1. ให้แสดงว่าปัญหาของเจ้าเมืองดนุพลกับนักคณิตศาสตร์สามารถวางจุดลงไปได้ 5 จุด และไม่สามารถวางได้มากกว่า 5
  2. พิสูจน์ว่าปัญหาของระยะทางแบบเดียว ไม่สามารถวางจุดได้มากกว่า n+1