ผลต่างระหว่างรุ่นของ "204512/บรรยาย 1"
Napat (คุย | มีส่วนร่วม) |
|||
แถว 3: | แถว 3: | ||
==คณิตศาสตร์มอดุโล== | ==คณิตศาสตร์มอดุโล== | ||
Definition 1: | Definition 1: | ||
− | + | จะกล่าวว่าจำนวนเต็ม a หารจำนวนเต็ม b ลงตัว ถ้ามีจำนวนเต็ม k ที่ ak = b เขียนแทนด้วย a|b | |
+ | |||
+ | นิยาม : จำนวนเต็มบวก p ที่ p > 1 และมีตัวประกอบสองจำนวนคือ 1 และตัวมันเองเรียกว่า จำนวนเฉพาะ | ||
+ | นิยาม : a mod b = r เมื่อ 0 <= r < b ถ้ามีจำนวนเต็ม k ที่ bk+r = a | ||
+ | ตัวอย่าง 10mod3 =1 | ||
+ | -10 mod 3 =2 ; 3(-4)+2 = -10 | ||
+ | นิยาม : a \eqv b (mod m) | ||
+ | ถ้า a mod m = b mod m | ||
+ | |||
+ | proposition 1: ถ้า a \eqv b (mod m) | ||
+ | iff m|a-b | ||
+ | Proof: p<=>q \eqv (p=>q)and(q=>p) | ||
+ | (~p=>~q) | ||
+ | (=>) | ||
+ | (<=) | ||
+ | เนื่องจาก m|a-b เราจะได้ว่ามีจำนวนเต็ม k ที่ | ||
+ | mk = a-b | ||
+ | b = a -mk | ||
+ | b mod m = a mod m - mk mod m | ||
+ | b mod m = a mod m | ||
+ | Propostition : ถ้า a \eqv b (mod m ) และ c \eqv d(mod m) แล้ว | ||
+ | 1. a+c \eqv b+d (mod m) | ||
+ | 2. ac \eqv bd (mod m) | ||
+ | 3. a-c \eqv b-d (mod m) | ||
+ | proof : a \eqv b (mod m)=> m|a-b \ | ||
+ | > m|(a+c)-(b+d) => a+c \eqv b+d (mod m) | ||
+ | c \eqv d (mod m)=> m|c-d / | ||
+ | |||
+ | ac \eqv ad (mod m) => c \eqv d (mod m) | ||
+ | นิยาม: สำหรับถ้า ab \eqv 1 (mod m) จะเรียก b ว่าเป็น mutiplicative inverse modulo m ของ a^-1 | ||
+ | เช่น 3*3 \eqv 1 (mod 4) | ||
+ | 3 = 3^-1 (mod 4) | ||
+ | |||
+ | (mod4) | ||
+ | 2/3 = 7 | ||
+ | x*3 \eqv 2 (mod 4) | ||
+ | x*3*\inv 3 \eqv 2*\inv 3 (mod 4) | ||
+ | x \eqv 2*3 = 6 =2 (mod 4) | ||
+ | |||
+ | (mod 7) | ||
+ | 2/3 = 7 | ||
+ | \inv 3 (mod 7) \eqv 5 (mod 7) | ||
+ | x \eqv 2*5 \eqv 10 \eqv 3 (mod 7) | ||
+ | |||
+ | ถ้ามี inverse สามารถหาผลหารได้โดยเอา inverse ไปคูณ | ||
+ | 4/3 = 4* \inv 3 (mod m) | ||
+ | |||
+ | |||
+ | |||
:<math>a \equiv b \pmod{m}</math> | :<math>a \equiv b \pmod{m}</math> | ||
ตัวอย่าง ๆ | ตัวอย่าง ๆ |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:19, 7 มิถุนายน 2550
การบรรยายครั้งแรกจะเป็นการแนะนำวิชา และแสดงตัวอย่างการพิสูจน์ที่น่าสนใจ โดยมีเป้าหมายเพื่อที่จะพัฒนาระบบการกระจายความลับ (secret sharing)
คณิตศาสตร์มอดุโล
Definition 1: จะกล่าวว่าจำนวนเต็ม a หารจำนวนเต็ม b ลงตัว ถ้ามีจำนวนเต็ม k ที่ ak = b เขียนแทนด้วย a|b
นิยาม : จำนวนเต็มบวก p ที่ p > 1 และมีตัวประกอบสองจำนวนคือ 1 และตัวมันเองเรียกว่า จำนวนเฉพาะ นิยาม : a mod b = r เมื่อ 0 <= r < b ถ้ามีจำนวนเต็ม k ที่ bk+r = a ตัวอย่าง 10mod3 =1 -10 mod 3 =2 ; 3(-4)+2 = -10 นิยาม : a \eqv b (mod m) ถ้า a mod m = b mod m
proposition 1: ถ้า a \eqv b (mod m) iff m|a-b Proof: p<=>q \eqv (p=>q)and(q=>p) (~p=>~q) (=>) (<=) เนื่องจาก m|a-b เราจะได้ว่ามีจำนวนเต็ม k ที่ mk = a-b b = a -mk b mod m = a mod m - mk mod m b mod m = a mod m Propostition : ถ้า a \eqv b (mod m ) และ c \eqv d(mod m) แล้ว 1. a+c \eqv b+d (mod m) 2. ac \eqv bd (mod m) 3. a-c \eqv b-d (mod m) proof : a \eqv b (mod m)=> m|a-b \ > m|(a+c)-(b+d) => a+c \eqv b+d (mod m)
c \eqv d (mod m)=> m|c-d /
ac \eqv ad (mod m) => c \eqv d (mod m) นิยาม: สำหรับถ้า ab \eqv 1 (mod m) จะเรียก b ว่าเป็น mutiplicative inverse modulo m ของ a^-1 เช่น 3*3 \eqv 1 (mod 4) 3 = 3^-1 (mod 4)
(mod4) 2/3 = 7 x*3 \eqv 2 (mod 4) x*3*\inv 3 \eqv 2*\inv 3 (mod 4) x \eqv 2*3 = 6 =2 (mod 4)
(mod 7) 2/3 = 7 \inv 3 (mod 7) \eqv 5 (mod 7) x \eqv 2*5 \eqv 10 \eqv 3 (mod 7)
ถ้ามี inverse สามารถหาผลหารได้โดยเอา inverse ไปคูณ 4/3 = 4* \inv 3 (mod m)
ตัวอย่าง ๆ