|
|
(ไม่แสดง 17 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 4 คน) |
แถว 1: |
แถว 1: |
| + | {{หัวคำบรรยาย|204512}} |
| + | '''จดบันทึกคำบรรยายโดย:''' |
| + | :นายมนต์ชัย สารทอง |
| + | :นายอุกฤษณ์ กุลดิลก 50653971 |
| + | |
| + | บทนี้จะกล่าวถึงทฤษฎีความน่าจะเป็นพื้นฐาน จากนั้นจะพิจารณาโครงสร้างข้อมูลแบบสุ่มสองแบบ คือ skip list และ universal hash |
| + | |
| ==Balls & Bins== | | ==Balls & Bins== |
| :มีถัง n ถัง | | :มีถัง n ถัง |
แถว 27: |
แถว 34: |
| | | |
| ==Linearity of Expectation== | | ==Linearity of Expectation== |
− | สำหรับตัวแปรสุ่ม X, Y
| + | {{กล่องเทา|สำหรับตัวแปรสุ่ม X, Y |
− | <math>E[X+Y] = E[X]+E[Y]</math>
| + | <center><math>E[X+Y] = E[X]+E[Y]</math></center>}} |
| | | |
| จาก '''<u>Ex.1</u>''' ให้ตัวแปรสุ่ม X แทนจำนวนถังว่าง | | จาก '''<u>Ex.1</u>''' ให้ตัวแปรสุ่ม X แทนจำนวนถังว่าง |
แถว 120: |
แถว 127: |
| == ตัวแปรสุ่มที่สำคัญ == | | == ตัวแปรสุ่มที่สำคัญ == |
| | | |
− | === 1. Indicator R.V. === | + | === 1. ตัวแปรสุ่มแบบ indicator === |
− | :มีค่า 0, 1
| + | มีตัวแปรสุ่มที่มีค่า 0 หรือ 1 สังเกตว่า |
− | ถ้า X เป็น Indicator R.V.
| |
− | :<math>E[X] = Pr[X=1]</math>
| |
| | | |
− | === 2. Binomial R.V. === | + | {{thm-box| |
| + | '''Proposition:''' ถ้า X เป็น Indicator R.V. |
| + | <center><math>E[X] = \Pr[X=1]</math></center>}} |
| + | {{begin-pf}} |
| + | '''Proof:''' จากนิยาม เราได้ว่า <math>E[X] = 0\cdot\Pr[X=0] + 1\cdot\Pr[X=1] = \Pr[X=1]</math> |
| + | {{end-pf}} |
| + | |
| + | === 2. ตัวแปรสุ่มแบบ binomial === |
| :มีการทดลองสำเร็จด้วยความน่าจะเป็น p | | :มีการทดลองสำเร็จด้วยความน่าจะเป็น p |
| :ทดลอง n ครั้ง แบบไม่ขึ้นต่อกัน | | :ทดลอง n ครั้ง แบบไม่ขึ้นต่อกัน |
แถว 143: |
แถว 155: |
| :<math> E[X] = E[X_1 + X_2 + ... + X_n] = \sum\limits_{i=1}^n {E[X_i]} = np</math> | | :<math> E[X] = E[X_1 + X_2 + ... + X_n] = \sum\limits_{i=1}^n {E[X_i]} = np</math> |
| | | |
− | :<math>Pr[X=a] = \binom{n}{a} \cdot p^a(1-p)^{n-a}</math> | + | :<math>Pr[X=a] = C(n,a) \cdot p^a(1-p)^{n-a}</math> |
| | | |
− | สำเร็จ a ตัว ได้ <math>\binom{n}{a}</math> แบบแต่ละแบบ มี <math>Pr = p^a(1-p)^{n-a}</math>
| + | เมื่อ <math>C(n,a)</math> แทนสัมประสิทธิ์ทวินาม ที่มีค่าเท่ากับ |
| + | <center><math>\frac{n!}{a!(n-a)!}</math></center> |
| + | ทั้งนี้เนื่องจาก ในการทดลอง n ครั้ง จะทดลองสำเร็จ a ครั้ง มีจำนวนรูปแบบที่เป็นไปได้ทั้งหมดเท่ากับ <math>C(n,a)</math>แบบ และแต่ละแบบ มีความน่าจะเป็นที่จะเกิดขึ้นเท่ากับ <math>p^a(1-p)^{n-a}</math> |
| | | |
| === 3. Geometric R.V. === | | === 3. Geometric R.V. === |
แถว 166: |
แถว 180: |
| #->O->O->O->O->O->O->O->O->O-># | | #->O->O->O->O->O->O->O->O->O-># |
| | | |
− | :ในการตัดสินใจว่าแต่ละโหนดจะมีความสูงขึ้นไปเท่าไหร่ จะใช้ความน่าจะเป็น เช่น การโยนเหรียญ เมื่อมีการเพิ่มข้อมูลใหม่ จะค้นหาจนกระทั่งพบช่องที่สามารถลงได้ จากนั้นก็ใช้ความน่าเป็น ในการดูว่าจะให้โหนดที่เพิ่มลงไปใหม่ควรจะมีความสูงเท่าไหร่
| + | ในการตัดสินใจว่าแต่ละโหนดจะมีความสูงขึ้นไปเท่าไหร่ จะใช้ความน่าจะเป็น เช่น การโยนเหรียญ เมื่อมีการเพิ่มข้อมูลใหม่ จะค้นหาจนกระทั่งพบช่องที่สามารถลงได้ จากนั้นก็ใช้ความน่าเป็น ในการดูว่าจะให้โหนดที่เพิ่มลงไปใหม่ควรจะมีความสูงเท่าไหร่ |
| | | |
− | :เมื่อกล่าวว่าเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นด้วยความน่าจะเป็นสูง จะหมายความว่า เหตุการณ์ดังกล่าวขะไม่เกิดขึ้นด้วยความน่าจะเป็นไม่เกิน <math>\frac{1}{n^c}</math> เมื่อ c>0 และ n คือ parameter ของระบบ
| + | เมื่อกล่าวว่าเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นด้วยความน่าจะเป็นสูง จะหมายความว่า เหตุการณ์ดังกล่าวขะไม่เกิดขึ้นด้วยความน่าจะเป็นไม่เกิน <math>\frac{1}{n^c}</math> เมื่อ c>0 และ n คือ parameter ของระบบ |
| | | |
− | '''<u>Lemma</u>''': skip list ที่มีข้อมูล n ตัวจะมีความสูง O(log n) ด้วยความน่าจะเป็นสูง | + | {{thm-box|'''Lemma:''' skip list ที่มีข้อมูล ''n'' ตัวจะมีความสูง ''O''(log ''n'') ด้วยความน่าจะเป็นสูง}} |
− | | + | {{begin-pf}} |
− | '''<u>Proof</u>''' พิจารณาข้อมูล x ใดๆ ความน่าจะเป็นที่ระดับของ x>k | + | '''Proof:''' พิจารณาข้อมูล x ใดๆ ความน่าจะเป็นที่ระดับของ x>k |
| :'''Pr[ระดับ x>k] =''' <math>\frac{1}{2^k}</math> | | :'''Pr[ระดับ x>k] =''' <math>\frac{1}{2^k}</math> |
| ให้เหตุการณ์ <math>A_i</math> แทนเหตุการณ์ที่ข้อมูลตัวที่ i มีระดับมากกว่า k | | ให้เหตุการณ์ <math>A_i</math> แทนเหตุการณ์ที่ข้อมูลตัวที่ i มีระดับมากกว่า k |
แถว 183: |
แถว 197: |
| :'''Pr[ความสูงไม่เกิน k] = 1 - Pr[มีข้อมูลบางตัวมีระดับมากกว่า k]''' <math>\le 1 - \frac{n}{2^k} = 1 - \frac{n}{2^{clogn}} = 1 - \frac{1}{n^{c-1}}</math> | | :'''Pr[ความสูงไม่เกิน k] = 1 - Pr[มีข้อมูลบางตัวมีระดับมากกว่า k]''' <math>\le 1 - \frac{n}{2^k} = 1 - \frac{n}{2^{clogn}} = 1 - \frac{1}{n^{c-1}}</math> |
| ถ้า c>2 , เหตุการณ์ดังกล่าวจะเกิดด้วยความน่าจะเป็นสูง | | ถ้า c>2 , เหตุการณ์ดังกล่าวจะเกิดด้วยความน่าจะเป็นสูง |
| + | {{end-pf}} |
| + | |
| :'''Pr[เดิน k node] =''' <math>k\cdot\frac{1}{2^k}</math> | | :'''Pr[เดิน k node] =''' <math>k\cdot\frac{1}{2^k}</math> |
− | '''<u>Thm</u>''' Expected search time ของ skip list ที่มีข้อมูล n ตัว คือ O(log n)
| |
| | | |
− | '''<u>Proof</u>''' ให้ H = ความสูง = O(log n) | + | {{thm-box|'''Theorem:''' Expected search time ของ skip list ที่มีข้อมูล ''n'' ตัว คือ ''O''(log ''n'')}} |
− | | + | {{begin-pf}} |
− | ให้ <math>T_i</math> เป็นเวลาที่ใช้ในชั้นที่ i | + | '''<u>Proof</u>''' |
| + | :ให้ H = ความสูง = O(log n) |
| + | :ให้ <math>T_i</math> เป็นเวลาที่ใช้ในชั้นที่ i |
| :<math>T = \sum_{i=1}^H T_i</math> | | :<math>T = \sum_{i=1}^H T_i</math> |
− | :<math>E[T] = E[\sum_{i=1}^H T_i] = \sum_{i=1}^H E[T_i] = O(log n)</math> | + | :<math>E[T] = E[\sum_{i=1}^H T_i] = \sum_{i=1}^H E[T_i] = O(\log n)</math> |
| + | {{end-pf}} |
| | | |
| == Hashing == | | == Hashing == |
− | ;นิยาม
| + | ในส่วนนี้ จะให้ <math>{\mathbb K}=\{1,\ldots,M\}</math> แทนเซตของคีย์ |
− | :Family of hash function H เป็น 2-universal ถ้า | + | และ <math>{\mathbb I}=\{1,\ldots,N\}</math> แืทนเซตของดัชนีในตาราง |
− | :สำหรับทุกๆ <math>element\ x,\ y \in\ H</math> ที่ <math>x \ne y</math>
| + | |
− | ::<math>Pr_{h \in H}[h(x) \ne h(y)] \le \frac{1}{N}</math>
| + | hash function <math>h:{\mathbb K}\rightarrow{\mathbb I}</math> จะส่งคีย์ไปยังตำแหน่งในตาราง |
| + | |
| + | {{def-box| |
| + | '''นิยาม:''' Family of hash function <math>\mathcal H</math> เป็น '''2-universal''' ถ้า สำหรับทุก ๆ |
| + | สมาชิก <math>x,\ y \in\ {\mathbb K}</math> ที่ <math>x \ne y</math>, |
| + | <center><math>\Pr_{h \in H}[h(x) \ne h(y)] \le \frac{1}{N}</math></center>}} |
| | | |
| | | |
บันทึกคำบรรยายวิชา 204512 นี้ เป็นบันทึกที่นิสิตเขียนขึ้น เนื้อหาโดยมากยังไม่ผ่านการตรวจสอบอย่างละเอียด การนำไปใช้ควรระมัดระวัง
จดบันทึกคำบรรยายโดย:
- นายมนต์ชัย สารทอง
- นายอุกฤษณ์ กุลดิลก 50653971
บทนี้จะกล่าวถึงทฤษฎีความน่าจะเป็นพื้นฐาน จากนั้นจะพิจารณาโครงสร้างข้อมูลแบบสุ่มสองแบบ คือ skip list และ universal hash
Balls & Bins
- มีถัง n ถัง
- มีบอล n ลูก
Random Variable
- นิยาม
- สำหรับตัวแปรสุ่ม X
Ex.1 มีลูกเต๋า 2 ลูก โยนทีละลูก
ให้ตัวแปรสุ่ม
- แต้มบนลูกเต๋าลูกที่ 1
- แต้มบนลูกเต๋าลูกที่ 2
- แต้มรวม
Linearity of Expectation
สำหรับตัวแปรสุ่ม X, Y
จาก Ex.1 ให้ตัวแปรสุ่ม X แทนจำนวนถังว่าง
ให้ตัวแปรสุ่ม
- ถ้าถังที่ i ว่าง
- กรณีอื่นๆ
สังเกตว่า
ดังนั้น
- โดย Linearity of Expectation
มีบอล m ลูก
มีถัง n ถัง
ให้ จำนวนถังว่าง
หา E[X]
ต้องโยนบอลกี่ลูก X จะเข้าใกล้ 0
ให้
- Thm
- สำหรับตัวแปรสุ่ม X, Y
- Proof
- ให้
- ตามต้องการ
ตัวแปรสุ่มที่สำคัญ
1. ตัวแปรสุ่มแบบ indicator
มีตัวแปรสุ่มที่มีค่า 0 หรือ 1 สังเกตว่า
Proposition: ถ้า X เป็น Indicator R.V.
Proof: จากนิยาม เราได้ว่า
2. ตัวแปรสุ่มแบบ binomial
- มีการทดลองสำเร็จด้วยความน่าจะเป็น p
- ทดลอง n ครั้ง แบบไม่ขึ้นต่อกัน
- จำนวนครั้งของการทดลองที่สำเร็จ จะเป็นตัวแปรสุ่มแบบ
- binomial => มี พารามิเตอร์ (n, p)
สำหรับตัวแปรสุ่ม X แบบ binomial ที่มี parameter (n, p)
ให้
- ถ้าการทดลองครั้งที่ i สำเร็จ
- กรณีอื่นๆ
ดังนั้น
เมื่อ แทนสัมประสิทธิ์ทวินาม ที่มีค่าเท่ากับ
ทั้งนี้เนื่องจาก ในการทดลอง n ครั้ง จะทดลองสำเร็จ a ครั้ง มีจำนวนรูปแบบที่เป็นไปได้ทั้งหมดเท่ากับ แบบ และแต่ละแบบ มีความน่าจะเป็นที่จะเกิดขึ้นเท่ากับ
3. Geometric R.V.
- มีเหรียญที่ออกหัวด้วยความน่าจะเป็น p
- จำนวนครั้งที่โยนจนได้หัว เป็นตัวแปรสุ่มแบบ geometric [พารามิเตอร์ p]
- ให้ r.v. X เป็นตัวแปรสุ่มแบบ geometric ที่มี parameter p
Skip List
#---------------->O---------->#
|
#---->O---------->O------->O->#
| | |
#---->O------->O->O---->O->O->#
| | | | |
#->O->O->O->O->O->O->O->O->O->#
ในการตัดสินใจว่าแต่ละโหนดจะมีความสูงขึ้นไปเท่าไหร่ จะใช้ความน่าจะเป็น เช่น การโยนเหรียญ เมื่อมีการเพิ่มข้อมูลใหม่ จะค้นหาจนกระทั่งพบช่องที่สามารถลงได้ จากนั้นก็ใช้ความน่าเป็น ในการดูว่าจะให้โหนดที่เพิ่มลงไปใหม่ควรจะมีความสูงเท่าไหร่
เมื่อกล่าวว่าเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นด้วยความน่าจะเป็นสูง จะหมายความว่า เหตุการณ์ดังกล่าวขะไม่เกิดขึ้นด้วยความน่าจะเป็นไม่เกิน เมื่อ c>0 และ n คือ parameter ของระบบ
Lemma: skip list ที่มีข้อมูล n ตัวจะมีความสูง O(log n) ด้วยความน่าจะเป็นสูง
Proof: พิจารณาข้อมูล x ใดๆ ความน่าจะเป็นที่ระดับของ x>k
- Pr[ระดับ x>k] =
ให้เหตุการณ์ แทนเหตุการณ์ที่ข้อมูลตัวที่ i มีระดับมากกว่า k
- Pr[] =
ให้เหตุการณ์ A แทนเหตุการณ์ที่มีข้อมูลบางตัวมีระดับมากกว่า k
ดังนั้น
ให้ K = c log n = O(log n) จะได้ว่า
- Pr[ความสูงไม่เกิน k] = 1 - Pr[มีข้อมูลบางตัวมีระดับมากกว่า k]
ถ้า c>2 , เหตุการณ์ดังกล่าวจะเกิดด้วยความน่าจะเป็นสูง
- Pr[เดิน k node] =
Theorem: Expected search time ของ skip list ที่มีข้อมูล n ตัว คือ O(log n)
Proof
- ให้ H = ความสูง = O(log n)
- ให้ เป็นเวลาที่ใช้ในชั้นที่ i
Hashing
ในส่วนนี้ จะให้ แทนเซตของคีย์
และ แืทนเซตของดัชนีในตาราง
hash function จะส่งคีย์ไปยังตำแหน่งในตาราง
เลือกจำนวนเฉพาะ p > M
ให้ สำหรับ และ
- Lemma
- สำหรับ x, y ที่
- จำนวน ที่
- ไม่เกิน ตัว
- Proof
- ให้
- (1) ถ้า
- พิสูจน์ด้วยข้อขัดแย้ง
- assume
- x = y
- (2) ถ้า แล้ว
- จำนวนคู่ r, s ที่สอดคล้อง
- (3) พิจารณา คู่ r, s คู่หนึ่ง ที่
- จะหาค่า a, b ที่
- แต่ละคู่ r, s จะมี a, b คู่เดียว
จาก (1), (2), (3), มี a, b ไม่เกิน คู่