ผลต่างระหว่างรุ่นของ "01204472/การทดลองเกี่ยวกับเมตริกซ์"
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 91: | แถว 91: | ||
: อย่าลืมนำฟังก์ชันดังกล่าวทดลองกับ [[01204472/การทดลองการคำนวณจำนวนจริง#Gaussian_Elimination|การทดลองในแลบ 1]] ก่อน | : อย่าลืมนำฟังก์ชันดังกล่าวทดลองกับ [[01204472/การทดลองการคำนวณจำนวนจริง#Gaussian_Elimination|การทดลองในแลบ 1]] ก่อน | ||
+ | |||
+ | ทดลองใช้ฟังก์ชันที่เขียนขึ้นในการหา polynomial ในส่วนก่อนหน้า |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:09, 28 มิถุนายน 2555
- หน้านี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา 01204472
เราจะทดลองเกี่ยวกับเมตริกซ์ และการใช้งานโครงสร้างข้อมูล matrix ของ numpy
ตัวอย่างการใช้งาน
>>> a = matrix([[1,2,3],[4,5,6]]) >>> a matrix([[1, 2, 3], [4, 5, 6]]) >>> a.T matrix([[1, 4], [2, 5], [3, 6]]) >>> norm(a,2) # หา matrix norm 9.5080320006957209 >>> b = matrix([[7,8],[9,10],[11,12]]) >>> b matrix([[ 7, 8], [ 9, 10], [11, 12]]) >>> a*b matrix([[ 58, 64], [139, 154]])
เนื้อหา
Orthogonal matrices
เราจะทดลองสร้าง orthogonal matrices โดยการหาเวกเตอร์ที่ตั้งฉากกัน
สุ่มเวกเตอร์
ใน pylab เราสามารถสุ่มเวกเตอร์ได้โดยใช้คำสั่ง rand [1] ซึ่งจะสามารถสร้าง array ตามมิติที่เราระบุได้ เช่น
>>> rand(5) array([ 0.46074869, 0.45697852, 0.72675971, 0.87655621, 0.59247653])
เราสามารถสร้างเมตริกซ์จาก array ดังกล่าวได้โดยสั่ง matrix แต่เมตริกซ์ที่ได้จะเป็นเมตริกซ์ที่มี 1 แถว ไม่ใช่คอลัมน์เวกเตอร์ที่เราต้องการ แต่เราสามารถ transpose ได้โดยเรียก attribute T ของผลลัพธ์ดังกล่าว เช่น
>>> matrix(rand(5)).T matrix([[ 0.50004005], [ 0.41567827], [ 0.56018141], [ 0.37370744], [ 0.29102686]])
จงเขียนฟังก์ชัน runit(n) ที่สุ่มเวกเตอร์ที่มีขนาด 1 หน่วยที่มีขนาด n
เวกเตอร์ที่ตั้งฉากกัน
ในส่วนนี้ เราจะสนใจกรณีของเวกเตอร์ขนาด 5 เท่านั้น ใช้ฟังก์ชัน runit() สุ่มเวกเตอร์ v1 จากนั้นสุ่มเวกเตอร์ u2 ให้ทดสอบว่าเวกเตอร์ u2 นั้นขนานกับ v1 หรือไม่ (มีโอกาสน้อยมากที่จะเกิดขึ้น) จากนั้นให้คำนวณหา
- เวกเตอร์ u2a และ u2b ที่ u2 = u2a + u2b และ u2a นั้นตั้งฉากกับ v1
- ให้เวกเตอร์ v2 เท่ากับเวกเตอร์ที่มีทิศทางเดียวกับ u2a แต่มีขนาด 1 หน่วย
- ทดลองได้ว่า v2.T * v1 เท่ากับ 0 หรือไม่
จากขั้นตอนดังกล่าว เราจะสามารถสุ่มเวกเตอร์ v3 ที่ตั้งฉากกับทั้ง v1 และ v2 ได้
ให้เขียนฟังก์ชัน randorth(vlist,n) ที่รับรายการของเวกเตอร์ขนาด n และคือ unit vector ที่ตั้งฉากกับเวกเตอร์ทุกเวกเตอร์ในรายการ
ให้ใช้ฟังก์ชันดังกล่าว หาเวกเตอร์ v3, v4, และ v5 ที่เป็น unit vector ที่ตั้งฉากกันทั้งหมด
หมายเหตุ: ทดลองหา vector v6 ที่ตั้งฉากกับทุก ๆ เวกเตอร์
เมื่อเราได้เวกเตอร์ที่มีคุณสมบัติดังกล่าวแล้ว เราสามารถสร้างเมตริกซ์ Q ที่เป็น orthogonal matrix ได้ไม่ยาก ทดลองสร้างและตรวจสอบว่า Q เป็น orthogonal matrix จริงหรือไม่
Matrix norm
การแก้ Linear equations
ทดลองการแก้สมการ
ในปัญหา polynomial interpoation เราทราบจุด ของ polynomial ที่มี degree เราต้องการหา
สมมติให้ เราสามารถเขียนระบบสมการเชิงเส้นได้ดังด้านล่าง
- TBA
เขียนฟังก์ชัน geneq(d,plist) ที่รับรายการของคู่ลำดับ d+1 คู่ จากนั้นคืนค่าเป็น tuple (M,b) ที่ เป็น linear equations ของสัมประสิทธิ์ของ
ให้ทดลองใช้ฟังก์ชัน solve เพื่อแก้สมการที่เราสร้างขึ้น ในหาทดลองหา polynomial ที่ผ่านจุดต่อไปนี้
- ข้อ a.
- ข้อ b.
ทดลองเขียน gaussian elimination
เขียนฟังก์ชันที่ทำงานลักษณะเดียวกับ ฟังก์ชัน solve โดยใช้ gaussian elimination
- อย่าลืมนำฟังก์ชันดังกล่าวทดลองกับ การทดลองในแลบ 1 ก่อน
ทดลองใช้ฟังก์ชันที่เขียนขึ้นในการหา polynomial ในส่วนก่อนหน้า