ผลต่างระหว่างรุ่นของ "01204472/การทดลองเกี่ยวกับการหารากของสมการ"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 12: | แถว 12: | ||
* <math>\ln x = 0</math> | * <math>\ln x = 0</math> | ||
* <math>x + \ln x = 2</math> | * <math>x + \ln x = 2</math> | ||
+ | |||
+ | 3. สปริง สามเส้น S1,S2,S3 ยึดกับจุด a,b,c, และ x โดยมีรายละเอียดดังนี้ | ||
+ | |||
+ | * สปริง S1 ยึดจุด a กับ x มีค่าคงที่สปริง <math>k_1 = 1</math> kg/s<sup>2</sup> | ||
+ | * สปริง S2 ยึดจุด b กับ x มีค่าคงที่สปริง <math>k_1 = 2</math> kg/s<sup>2</sup> | ||
+ | * สปริง S3 ยึดจุด c กับ x มีค่าคงที่สปริง <math>k_1 = 1.5</math> kg/s<sup>2</sup> | ||
+ | |||
+ | จุด a มีพิกัด (0,0), จุด b มีพิกัด (10,0), จุด c มีพิกัด (6,4) | ||
+ | |||
+ | จงคำนวณหาพิกัดของจุด x ที่ทำให้พลังานในระบบต่ำที่สุด |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:20, 23 สิงหาคม 2555
การหารากของสมการ
1. จงใช้วิธี Bisection, Newton, และ Secant หารากของสมการเหล่านี้
- (รากที่สอง)
- (รากที่สาม)
2. Convergences. ทดลองหารากของสมการเหล่านี้ ทดลองจุดเริ่มต้นที่ตำแหน่งต่าง ๆ แล้วบันทึกจำนวนรอบก่อนที่คำตอบจะผิดพลาดน้อยกว่า
3. สปริง สามเส้น S1,S2,S3 ยึดกับจุด a,b,c, และ x โดยมีรายละเอียดดังนี้
- สปริง S1 ยึดจุด a กับ x มีค่าคงที่สปริง kg/s2
- สปริง S2 ยึดจุด b กับ x มีค่าคงที่สปริง kg/s2
- สปริง S3 ยึดจุด c กับ x มีค่าคงที่สปริง kg/s2
จุด a มีพิกัด (0,0), จุด b มีพิกัด (10,0), จุด c มีพิกัด (6,4)
จงคำนวณหาพิกัดของจุด x ที่ทำให้พลังานในระบบต่ำที่สุด