ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สร้างเกมด้วย Pygame"
Chaiporn (คุย | มีส่วนร่วม) |
Chaiporn (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 166: | แถว 166: | ||
<span style="color:green;"><b>self.vx = abs(self.vx) # bounce ball back</b></span> | <span style="color:green;"><b>self.vx = abs(self.vx) # bounce ball back</b></span> | ||
− | == | + | == ปรับความเร็วลูกเมื่อกระทบไม้ตี == |
+ | === เพิ่มความเร็วลูกหลังถูกตี === | ||
− | == | + | === สุ่มปรับความเร็วในแนวตั้ง === |
− | == | + | == เพิ่มจำนวนลูก == |
== เพิ่มแรงโน้มถ่วง == | == เพิ่มแรงโน้มถ่วง == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:01, 8 พฤศจิกายน 2557
- วิกินี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 01204223
Pygame เป็นโมดูลภาษาไพทอนที่ออกแบบมาเพื่อความสะดวกในการพัฒนาเกม วิกินี้ยกตัวอย่างการสร้างเกมอย่างง่ายที่อาศัยบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ในการควบคุมผู้เล่น
เนื้อหา
การเตรียมตัว
ติดตั้งไลบรารี Pygame
สำหรับระบบปฏิบัติการ Ubuntu Linux ใช้คำสั่ง apt-get ติดตั้งได้โดยตรง
sudo apt-get install python-pygame
ส่วนระบบปฏิบัตการ Mac OS X หรือระบบปฏิบัติการอื่น ๆ ให้ดาวน์โหลดตัวติดตั้งจากเว็บไซท์ http://pygame.org/download.shtml
เตรียมบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์
บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ที่นำมาใช้เป็นตัวควบคุมผู้เล่นในวิกินี้ต้องถูกโปรแกรมเฟิร์มแวร์ให้สามารถอ่านค่าแสงผ่านพอร์ท USB ได้แล้ว ให้แน่ใจว่า
- ได้พัฒนาเฟิร์มแวร์ตามขั้นตอนของวิกิ การติดต่อกับบอร์ด MCU ผ่าน USB ด้วย Arduino หรือ การจำลองบอร์ด MCU เป็นอุปกรณ์ USB (ภาษาซีล้วน)
- เฟิร์มแวร์รองรับการอ่านค่าแสง และได้แก้ไขโมดูล peri.py ให้สามารถอ่านค่าแสงในช่วง 0-1023 จากเมท็อด getLight() ได้อย่างถูกต้องตามที่ระบุไว้ในแบบฝึกหัดท้ายสไลด์บรรยาย การสื่อสารกับบอร์ด MCU ผ่านพอร์ต USB
เกมตัวอย่าง: สควอช
เกมที่เราจะใช้เป็นตัวอย่างเรียกว่า Squash ดัดแปลงมาจากเกม Pong ที่เป็นคลาสสิคสุดฮิต ลักษณะการเล่นจะเป็นผู้เล่นตั้งแต่หนึ่งคนขึ้นไปตีลูกกระทบกำแพง และพยายามรับลูกที่สะท้อนกลับมาให้ได้
โค้ดต้นแบบ
ดาวน์โหลดโค้ดต้นแบบจากลิ้งค์ http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/squash.py แล้วนำมาบันทึกไว้ในไดเรคตอรีเดียวกันกับโมดูล practicum.py และ peri.py ที่ได้มาจากการปฏิบัติตามขั้นตอนในวิกิ การติดต่อกับบอร์ด MCU ผ่าน USB ด้วย Arduino ทดลองรันโปรแกรมด้วยไพทอน
python squash.py
ควรปรากฏผลลัพธ์ดังรูปตัวอย่างข้างต้น เกมต้นแบบมีกติกาและการควบคุมดังนี้
- มีผู้เล่นคนเดียว
- ใช้ปุ่มลูกศรขึ้น/ลงเลื่อนไม้ตีของผู้เล่นเพื่อรับลูก
- ทุกครั้งที่รับลูกได้จะได้คะแนนเพิ่ม 1 คะแนน
- หากรับลูกพลาดและลูกกระทบกำแพงด้านซ้ายมือถือเป็นการจบเกม
- กดปุ่ม ESC เพื่อออกจากเกมได้ตลอดเวลา
โครงสร้างคลาสของเกม
class diagram
ควบคุมผู้เล่นด้วยบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์
import pygame
from pygame.locals import *
from practicum import findDevices
from peri import PeriBoard
class Player(object): THICKNESS = 10 def __init__(self, board, pos=WINDOW_SIZE[1]/2, width=100, color=WHITE): self.width = width self.pos = pos self.color = color self.board = board def move(self): try: self.pos = self.board.getLight() except: pass
def main(): : ball = Ball(speed=(200,50)) board = PeriBoard(findDevices()[0]) player = Player(board, color=pygame.Color('green'),pos=100) while not game_over: for event in pygame.event.get(): # process events if (event.type == QUIT) or \ (event.type == KEYDOWN and event.key == K_ESCAPE): game_over = Trueif pygame.key.get_pressed()[K_UP]:player.pos -= 5elif pygame.key.get_pressed()[K_DOWN]:player.pos += 5display.fill(BLACK) # clear screen display.blit(score_image, (10,10)) # draw score player.move() # move player player.draw(display) # draw player
โค้ดข้างต้นถือว่าต้องมีบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์เสียบอยู่อย่างน้อยหนึ่งบอร์ดเสมอ
ลดการส่ายของไม้ตี
class Player(object): : def move(self): try:self.pos = self.board.getLight()self.pos = 0.9*self.pos + 0.1*self.board.getLight() except: pass
รองรับผู้เล่นหลายคน
FPS = 50
WINDOW_SIZE = (500,500)
BLACK = pygame.Color('black')
WHITE = pygame.Color('white')
GREY = pygame.Color('grey')
PLAYER_COLORS = ('green','yellow','red','cyan')
def main(): : ball = Ball(speed=(200,50))board = PeriBoard(findDevices()[0])player = Player(board, color=pygame.Color('green'),pos=100)players = [] for i,dev in enumerate(findDevices()): color = PLAYER_COLORS[i % len(PLAYER_COLORS)] board = PeriBoard(dev) players.append(Player(board,color=pygame.Color(color),pos=100,width=150)) while not game_over: : display.fill(BLACK) # clear screen display.blit(score_image, (10,10)) # draw scoreplayer.move()player.draw(display) # draw playerfor p in players: p.move() # move player p.draw(display) # draw player ball.move(1./FPS, display,playerplayers) # move ball ball.draw(display) # draw ball
$ python >>> data = ['a','b','c'] >>> list(enumerate(data)) [(0, 'a'), (1, 'b'), (2, 'c')] >>> for i,x in enumerate(data): ... print i,x ... 0 a 1 b 2 c >>>
class Ball(object): : def move(self, delta_t, display,playerplayers): global score, game_over self.x += self.vx*delta_t self.y += self.vy*delta_t # player-hitting checkif player.can_hit(self):score += 1render_score()self.vx = abs(self.vx) # bounce ball backfor p in players: if p.can_hit(self): score += 1 render_score() self.vx = abs(self.vx) # bounce ball back