|
|
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) |
แถว 10: |
แถว 10: |
| == สารบัญ == | | == สารบัญ == |
| * [[PyOpenGL Programming/Basic Vocabulary|Basic Vocabulary]] | | * [[PyOpenGL Programming/Basic Vocabulary|Basic Vocabulary]] |
− | * [[PyOpenGL Programming/Tutorial 1: First Program]] | + | * [[PyOpenGL Programming/Tutorial 1: First Program|Tutorial 1: First Program]] |
− | | |
− | == ความรู้พื้นฐาน ==
| |
− | === OpenGL ===
| |
− | ผู้ใช้ OpenGL สามารถใช้มันวาดรูปทรงสองมิติหรือสามมิติได้ โดยระุบุรูปทรงและรูปร่างพื้นฐาน เช่น จุด เส้น และรูปหลายเหลี่ยม เป็นต้น แล้ว OpenGL จะทำหน้าที่สร้างภาพสามมิตินั้นไว้บนหน่วยความจำที่่เรียกว่า framebuffer ซึ่งเก็บข้อมูลสีของแต่ละ pixel บนหน้าจอเอาไว้
| |
− | | |
− | OpenGL เป็นไลบรารีที่เหมาะสมต่อการสร้างโปรแกรมที่มีการตอบสนองต่อผู้ใช้แบบทันทีทันควัน (interactive) เนื่องจากการวาดรูปใช้ GPU จึงทำได้อย่างรวดเร็ว แต่ GPU เองไม่สามารถสร้างรูปที่มีรายละเอียดสูง หรือมีการกระจายตัวของแสงในฉากที่ซับซ้อนได้ จึงไม่เหมาะสำหรับใช้สร้างภาพนิ่งคุณภาพสูงหรือภาพยนตร์สามมิติต่างๆ
| |
− | | |
− | OpenGL ทำหน้าที่'''สั่ง GPU ให้วาดรูปเท่านั้น''' มันไม่ได้จัดการการติดต่อกับผู้ใช้ ไม่ได้จัดการวินโดว์ที่โปรแกรมใช้ และมันก็ไม่สามารถหา framebuffer มาใช้เองได้ ดังนั้นต้องมีโค้ดส่วนอื่นมาจัดการเรื่องพวกนี้ให้
| |
− | | |
− | === GLUT ===
| |
− | GLUT ย่อมาจาก Open'''GL''' '''U'''tility '''T'''oolkit เป็นไลบรารีสำหรับจัดการส่วนติดต่อกับผู้ใช้และจัดการวินโดว์ให้ OpenGL กล่าวคือมันทำสิ่งที่ OpenGL ไม่ทำข้างบน GLUT เป็นไลบรารีที่เหมาะสมต่อการเรียน OpenGL เนื่องจากใช้งานง่ายและผู้ใช้ไม่ต้องเรียนรู้หรือจดจำอะไรมาก แต่ไม่เหมาะจะเอาไปใช้เขียนโปรแกรมประยุกต์จริงๆ เนื่องจากไม่มี GUI Widget ให้ใช้เลย นอกจากนี้โปรแกรมจะต้องรับข้อมูลเข้าจา่กผู้่ใช้ตามที่ GLUT กำหนดเท่านั้น ไม่สามารถจัดการการอ่านข้อมูลเข้าได้เอง
| |
− | | |
− | == โปรแกรมแรก ==
| |
− | <pre title="editor external">
| |
− | from OpenGL.GL import *
| |
− | from OpenGL.GLU import *
| |
− | from OpenGL.GLUT import *
| |
− | import sys
| |
− | | |
− | def display():
| |
− | glClearColor(0,0,0,0)
| |
− | glClear(GL_COLOR_BUFFER_BIT | GL_DEPTH_BUFFER_BIT)
| |
− |
| |
− | glBegin(GL_QUADS)
| |
− | glVertex2d(-0.5, -0.5)
| |
− | glVertex2d(0.5, -0.5)
| |
− | glVertex2d(0.5, 0.5)
| |
− | glVertex2d(-0.5, 0.5)
| |
− | glEnd()
| |
− |
| |
− | glutSwapBuffers()
| |
− | | |
− | if __name__=="__main__":
| |
− | glutInit(sys.argv)
| |
− | glutInitDisplayMode(GLUT_DOUBLE | GLUT_RGBA | GLUT_DEPTH)
| |
− | glutInitWindowSize(512, 512)
| |
− | glutCreateWindow("Test 01")
| |
− |
| |
− | glutDisplayFunc(display)
| |
− |
| |
− | glutMainLoop()
| |
− | </pre>
| |
− | === คำสั่ง OpenGL ===
| |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:32, 24 ตุลาคม 2551
OpenGL (ย่อมาจาก Open Graphics Library) เป็น Application Programming Interface (API) สำหรับควบคุม Graphics Processing Unit (GPU) ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน (เนื่องจากมี API แบบนี้ในโลกอยู่แค่สองตัว คือ OpenGL และ DirectX) จริงๆ แล้ว OpenGL เขียนขึ้นมาครั้งแรกเพื่อใช้กับภาษา C แต่หลังจากนั้นก็มีคนเขียนซอฟต์แวร์เพิ่มเติมให้ใ้ช้ OpenGL กับภาษาอื่นๆ เช่น Java, Pascal, Ruby, ฯลฯ ได้ PyOpenGL เป็นไลบรารีที่ทำให้ภาษาไพทอนใช้ OpenGL ได้ เอกสารนี้จะสอนวิธีการใช้ OpenGL ผ่านทาง PyOpenGL สร้างโปรแกรมเพื่อแสดงภาพสองมิติและสามมิติอย่างง่ายๆ
หากท่านต้องการอ่านเอกสารนี้ให้ได้อรรถรสมากที่สุด กรุณาใช้ Crunchy คุณสามารถดูวิดิทัศน์แสดงการติดตั้งและใช้ Crunchy ได้ที่นี่: วิธีการติดตั้งภาษา Python และ Crunchy
การติดตั้ง PyOpenGL
ก่อนติดตั้ง PyOpenGL คุณจะต้องติดตั้งภาษาไพทอนไว้ก่อนแล้ว เราแนะนำให้ติดตั้งภาษาไพทอนเวอร์ชัน 2.5.2 เนื่องจากมันเป็นเวอร์ชันที่ Crunchy สามารถทำงานร่วมด้วยอย่างราบรื่น
คุณสามารถดูวิดิทัศน์แสดงวิธีการติดตั้ง PyOpenGL ได้ที่นี่: http://access.cs.sci.ku.ac.th/~pramook/install-pyopengl/
สารบัญ