ผลต่างระหว่างรุ่นของ "01204223 การปฏิบัติการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Chaiporn (คุย | มีส่วนร่วม) |
Chaiporn (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 31: | แถว 31: | ||
*#* [https://elab.cpe.ku.ac.th/elab2/lab/16/71/ แบบฝึกหัด 2.1 ยูนิกซ์สำหรับ Geek] (ตามโจทย์ในชีตแล็บ) | *#* [https://elab.cpe.ku.ac.th/elab2/lab/16/71/ แบบฝึกหัด 2.1 ยูนิกซ์สำหรับ Geek] (ตามโจทย์ในชีตแล็บ) | ||
*#* [https://elab.cpe.ku.ac.th/elab2/lab/16/72/ แบบฝึกหัด 2.2 วิเคราะห์ log file] | *#* [https://elab.cpe.ku.ac.th/elab2/lab/16/72/ แบบฝึกหัด 2.2 วิเคราะห์ log file] | ||
+ | |||
+ | === สัปดาห์ที่ 3 การบัดกรีวงจร === | ||
+ | * หัวข้อ: การบัดกรีบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ | ||
+ | *# ศึกษาวีดีทัศน์ [http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/media/soldering-how-to.mp4 การบัดกรีวงจร (ซับไทย)] | ||
+ | *# ฟังบรรยาย | ||
+ | *#* การสร้างวงจรต้นแบบ ([http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/slides/h2-prototyping.ppt เอกสาร ppt]) ([http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/slides/h2-prototyping.pdf เอกสาร pdf]) | ||
+ | *#* การบัดกรีชิ้นงานอิเล็กทรอนิกส์ ([http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/slides/h3-soldering.ppt เอกสาร ppt]) ([http://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/slides/h3-soldering.pdf เอกสาร pdf]) | ||
+ | *# ประกอบวงจรบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ตามขั้นตอนในวิกิ [[การบัดกรีแผงวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์]] | ||
+ | *# ตรวจสอบความถูกต้องของชิ้นงาน โดยศึกษาจากวีดีทัศน์ [http://youtu.be/PfCFzezMLxM การประกอบบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์และการตรวจสอบความถูกต้อง] | ||
== รวบรวมลิ้งค์สำหรับเอกสารและสื่อการสอน == | == รวบรวมลิ้งค์สำหรับเอกสารและสื่อการสอน == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:41, 5 กันยายน 2558
หน้านี้รวบรวมลิงก์ของเอกสารและวิดีโอประกอบการเรียนวิชาการ 01204223 ปฏิบัติการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Practicum for Computer Engineering) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เนื้อหา
ประกาศ
- ยินดีต้อนรับสู่วิชาการปฏิบัติการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
- เจอกันใน Facebook
- และระบบ E-labsheet
- ดาวน์โหลดแผนการสอนที่นี่
เนื้อหาและปฏิบัติการ
สัปดาห์ที่ 1 ระบบยูนิกซ์ เทอร์มินัล และเชลล์
- หัวข้อ: ระบบยูนิกซ์เบื้องต้น
- ฟังบรรยาย: ยูนิกซ์ เทอร์มินัล และเชลล์ (สไลด์ประกอบ)
- ศึกษาวีดีทัศน์: พาธในยูนิกซ์
- ตอนที่ 1 เกริ่นนำเกี่ยวกับเชลล์และแนะนำแนวคิดของโครงสร้างไดเร็กทอรี
- ตอนที่ 2 อธิบายแนวคิดของ working directory และการอ้างถึงไฟล์โดยอิงกับ working directory, ทดลองใช้คำสั่ง ls, cd, pwd และ cp
- ตอนที่ 3 อธิบายวิธีการอ้างถึงไฟล์ในรูปแบบอื่น ๆ เช่นการอ้างแบบ absolute (/) อ้างผ่าน home (~) และการอ้างถึงตำแหน่งนั้นเอง (.) กับการอ้างถึงไดเร็กทอรีก่อนหน้า (..)
- ศึกษาวิกิ: การใช้ filename expansion
- ศึกษาวีดีทัศน์: glob และการกระจายคำสั่ง
- ดาวน์โหลดและปฏิบัติตามขั้นตอนในชีตแล็บ: ระบบยูนิกซ์และคำสั่งพื้นฐาน โดยส่งงานผ่านระบบ E-Labsheet
สัปดาห์ที่ 2 รีไดเรคชันและไปป์
- หัวข้อ: การผันทิศทางอินพุท/เอาท์พุท และการเชื่อมต่อคำสั่งโดยใช้ไปป์
- ศึกษาวีดีทัศน์: แนะนำการใช้งานรีไดเรคชันและไปป์ พร้อมยกตัวอย่างด้วยคำสั่ง grep และ wc และแนะนำคำสั่ง tee
- ฟังบรรยาย (สไลด์ประกอบ)
- ดาวน์โหลดชีตแล็บ: ยูนิกส์สำหรับ geek
- ส่งแบบฝึกหัดผ่านระบบ E-Labsheet:
- แบบฝึกหัด 2.1 ยูนิกซ์สำหรับ Geek (ตามโจทย์ในชีตแล็บ)
- แบบฝึกหัด 2.2 วิเคราะห์ log file
สัปดาห์ที่ 3 การบัดกรีวงจร
- หัวข้อ: การบัดกรีบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์
- ศึกษาวีดีทัศน์ การบัดกรีวงจร (ซับไทย)
- ฟังบรรยาย
- การสร้างวงจรต้นแบบ (เอกสาร ppt) (เอกสาร pdf)
- การบัดกรีชิ้นงานอิเล็กทรอนิกส์ (เอกสาร ppt) (เอกสาร pdf)
- ประกอบวงจรบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ตามขั้นตอนในวิกิ การบัดกรีแผงวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์
- ตรวจสอบความถูกต้องของชิ้นงาน โดยศึกษาจากวีดีทัศน์ การประกอบบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์และการตรวจสอบความถูกต้อง
รวบรวมลิ้งค์สำหรับเอกสารและสื่อการสอน
วิกิ
สไลด์บรรยาย
วีดีทัศน์
- พาธในยูนิกซ์ ตอนที่ 1 เกริ่นนำเกี่ยวกับ shell และแนะนำแนวคิดของโครงสร้างไดเร็กทอรี
- พาธในยูนิกซ์ ตอนที่ 2 อธิบายแนวคิดของ working directory และการอ้างถึงไฟล์โดยอิงกับ working directory, ทดลองใช้คำสั่ง ls, cd, pwd และ cp
- พาธในยูนิกซ์ ตอนที่ 3 อธิบายวิธีการอ้างถึงไฟล์ในรูปแบบอื่น ๆ เช่นการอ้างแบบ absolute (/) อ้างผ่าน home (~) และการอ้างถึงตำแหน่งนั้นเอง (.) กับการอ้างถึงไดเร็กทอรีก่อนหน้า (..)
- glob และการกระจายคำสั่ง ตอนที่ 1 ยกตัวอย่างการใช้ pattern เพื่อแทนชื่อไฟล์ และอธิบายการทำงานของ command expansion/substitution
- glob และการกระจายคำสั่ง ตอนที่ 2 แนะนำการใช้ *, ?, และ [..] ในการทำ filename expansion ใน shell
- แนะนำการใช้งานรีไดเรคชันและไปป์ พร้อมยกตัวอย่างด้วยคำสั่ง grep และ wc และแนะนำคำสั่ง tee