ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Python Programming/Python Interpreter"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 1: แถว 1:
 
ภาษาไพทอนทำงานโดยการแปลคำสั่งทีละคำสั่งด้วยตัวแปลภาษาไพทอน (Python Interpreter) ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่นเช่น C หรือ Java ที่ต้องผ่านกระบวนการคอมไพล์เพื่อแปลคำสั่งทั้งหมดในคราวเดียวก่อนจึงจะเรียกใช้งานโปรแกรมได้ การสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาไพทอนจึงสามารถทำได้ทั้งในโหมดโต้ตอบ (interactive mode) และโหมดสคริปต์ (script mode) นอกจากนั้นเครื่องมือบางอย่างเช่น Spyder หรือ Ipython Notebook สามารถช่วยให้เราใช้งานทั้งสองโหมดผสมผสานกันได้
 
ภาษาไพทอนทำงานโดยการแปลคำสั่งทีละคำสั่งด้วยตัวแปลภาษาไพทอน (Python Interpreter) ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่นเช่น C หรือ Java ที่ต้องผ่านกระบวนการคอมไพล์เพื่อแปลคำสั่งทั้งหมดในคราวเดียวก่อนจึงจะเรียกใช้งานโปรแกรมได้ การสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาไพทอนจึงสามารถทำได้ทั้งในโหมดโต้ตอบ (interactive mode) และโหมดสคริปต์ (script mode) นอกจากนั้นเครื่องมือบางอย่างเช่น Spyder หรือ Ipython Notebook สามารถช่วยให้เราใช้งานทั้งสองโหมดผสมผสานกันได้
  
= การใช้งานไพทอนในโหมดโต้ตอบ =
+
== การใช้งานไพทอนในโหมดโต้ตอบ ==
  
= การใช้งานไพทอนในโหมดสคริปต์ =
+
== การใช้งานไพทอนในโหมดสคริปต์ ==
  
= การใช้งานไพทอนผ่าน IPython Notebook =
+
== การใช้งานไพทอนผ่าน IPython Notebook ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:23, 3 ตุลาคม 2558

ภาษาไพทอนทำงานโดยการแปลคำสั่งทีละคำสั่งด้วยตัวแปลภาษาไพทอน (Python Interpreter) ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่นเช่น C หรือ Java ที่ต้องผ่านกระบวนการคอมไพล์เพื่อแปลคำสั่งทั้งหมดในคราวเดียวก่อนจึงจะเรียกใช้งานโปรแกรมได้ การสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาไพทอนจึงสามารถทำได้ทั้งในโหมดโต้ตอบ (interactive mode) และโหมดสคริปต์ (script mode) นอกจากนั้นเครื่องมือบางอย่างเช่น Spyder หรือ Ipython Notebook สามารถช่วยให้เราใช้งานทั้งสองโหมดผสมผสานกันได้

การใช้งานไพทอนในโหมดโต้ตอบ

การใช้งานไพทอนในโหมดสคริปต์

การใช้งานไพทอนผ่าน IPython Notebook