ผลต่างระหว่างรุ่นของ "01204111 model codes"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 353: แถว 353:
 
* ไม่ต้องสอน switch/case
 
* ไม่ต้องสอน switch/case
 
* ใช้ flow-chart และตัวอย่างเยอะ ๆ
 
* ใช้ flow-chart และตัวอย่างเยอะ ๆ
 +
=== ตัวอย่างโปรแกรม ===
 
==== คำนวณค่ามากที่สุดของจำนวนสามจำนวน ====
 
==== คำนวณค่ามากที่สุดของจำนวนสามจำนวน ====
 
<div class="toccolours mw-collapsible mw-collapsed">
 
<div class="toccolours mw-collapsible mw-collapsed">

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:04, 20 มิถุนายน 2559

ตัวอย่างโปรแกรมที่ควรเขียนได้และเข้าใจเมื่อเรียนเนื้อหาแต่ละส่วน

เนื้อหา

แนะนำคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม

  • 1 คาบ
  • องค์ประกอบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
    • ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบปฏิบัติการ
  • การแทนข้อมูล
  • ระบบเลขฐาน
  • เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต (?)
  • มโนทัศน์การโปรแกรม
    • ภาษาระดับต่ำ
    • ภาษาระดับสูง
    • การแปลภาษา
    • ขั้นตอนวิธีและการแตกปัญหาเป็นปัญหาย่อย
    • โฟลว์ชาร์ท

ตัวอย่างโปรแกรม

โปรแกรมการกินข้าว

1. ขณะที่ ข้าวในจานยังไม่หมด ให้ทำดังนี้
1.1    ถ้า ยังกินไหว ให้ทำดังนี้
1.1.1      ตักข้าวเข้าปาก
1.2    ถ้าไม่เช่นนั้น
1.2.1      เลิกกิน
2. ถ้า ยังไม่อิ่ม และ เงินยังไม่หมด ให้ทำดังนี้
2.1    ซื้อข้าวอีกจาน
2.2    กลับไปทำข้อ 1

ตัวแปร นิพจน์ โปรแกรมเชิงลำดับอย่างง่าย อินพุต/เอาท์พุต

  • 1 คาบ
  • แนะนำ data type เท่าที่จำเป็น
    • int สำหรับจำนวนเต็ม (ไม่ต้องมี short หรือ byte)
    • double สำหรับทศนิยม (ไม่ต้องมี float)
    • char
    • string
  • ตัวดำเนินการพื้นฐาน +, -, *, /, %
    • ลำดับความสำคัญ และวงเล็บ
    • ยังไม่ต้องสอน ++, --, += และ -= ในตอนนี้
  • อาศัย interactive shell ในการแสดงลำดับการคำนวณ การใช้ตัวแปร และการนำเอาลำดับเหล่านี้มารวมกันเป็นโปรแกรมเพื่อทำงานทีเดียว
  •  ??การประกาศตัวแปรด้วยคีย์เวิร์ด var
  • การใช้ Console.ReadLine() และ Console.WriteLine() เมื่อเริ่มนำมาเขียนเป็นโปรแกรม
  • แทรกเกร็ดเรื่อง formatting โดยใช้ Console.Write() ไปเรื่อย ๆ
  •  ?? ไม่ต้องสอนการประกาศตัวแปรแบบ const
  • ไม่ต้องสอน ConvertTo() และการทำ type casting ระหว่างตัวเลขเป็นตัวอักษร (เช่น (int)'A' หรือ (char)65)

โปรแกรมย่อยและไลบรารี

  • เป้าหมาย: การใช้โปรแกรมย่อยเพื่อการแบ่งปัญหาเป็นปัญหาย่อย และเพื่อให้โปรแกรมอ่านเข้าใจง่าย (ไม่ใช่เพื่อทำให้โปรแกรมสั้นลง)
  • 1 คาบ
  • การเรียกใช้ฟังก์ชันในคลาส Math และทบทวนการเรียกใช้ฟังก์ชันที่เคยทำมาแล้ว (ReadLine, WriteLine, Parse ฯลฯ)
  • การสร้างโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันขึ้นมาด้วยตนเองเพื่อคำนวณสูตรที่ไม่มีให้ในไลบรารี
  • พารามิเตอร์และการส่งค่า
    • ความหมายของพารามิเตอร์และอาร์กิวเมนต์
    • ครอบคลุมเฉพาะ pass by value
    •  ?? การกำหนดพารามิเตอร์ด้วย keyword argument ตัวอย่างเช่น
ขยาย

คลิก "ขยาย" เพื่อดูตัวอย่างโปรแกรม

  • สโคปของตัวแปร

ลำดับของโปรแกรมที่จะพัฒนา

1. โปรแกรมคำนวณพื้นที่วงกลม 1

ขยาย

ตัวอย่างแรกสุดที่แสดงการเรียกโปรแกรมย่อยโดยไม่ต้องส่งพารามิเตอร์ใดๆ เพื่อแสดง top-down design ขั้นพื้นฐาน

2. โปรแกรมคำนวณพื้นที่วงกลม 2

ขยาย

ทำงานเดียวกับโปรแกรมแรก แต่มีการเรียกโปรแกรมย่อยที่มีพารามิเตอร์แบบ pass by value และรีเทิร์นผลลัพธ์ แสดงการออกแบบโปรแกรมแบบ modular และ stepwise refinement มากยิ่งขึ้น

3. โปรแกรมคำนวณค่าเฉลี่ยของตัวแปร 3 ตัว (version 2)

ขยาย

หาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็มสามตัว เป็นโปรแกรมที่ปรับมาจากโปรแกรมที่ Main ทำทุกอย่าง เป็นอีกตัวอย่างที่แสดงการใช้โปรแกรมย่อย

4. โปรแกรมคำนวณค่าเฉลี่ยของตัวแปร 3 ตัว (version 3)

ขยาย

หาค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็มสามตัว ใช้ out พารามิเตอร์ในการส่งค่ากลับ

5. โปรแกรมคำนวณพื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู

ขยาย

ปรับแก้จากตัวอย่างการคำนวณค่าเฉลี่ย แสดงตัวอย่างการนำโปรแกรมที่แบ่งโครงสร้างที่ดีไว้แล้วมาปรับแก้

โปรแกรมตัวอย่างอื่น ๆ

หาพื้นที่สี่เหลี่ยม

ขยาย

ตัวอย่างแสดงการแยกส่วนของการคำนวณเป็นโปรแกรมย่อย

ตัวอย่าง 2 (มีการใช้หลาย method)

TODO

ตัวอย่าง 3 (มีการใช้หลาย method, ใน method มีการเรียนใช้ method อื่น)

TODO

นิพจน์เชิงตรรกและโครงสร้างคำสั่งแบบทางเลือก

  • ทุกตัวอย่างมีการใช้โปรแกรมย่อยเสมอ

ตัวอย่างโปรแกรมอื่น ๆ

คิดค่าส่งไปรษณีย์

ขยาย

แสดงการแบ่งงานเป็นหลายกรณี

โครงสร้างคำสั่งแบบทางเลือกหลายชั้น

  • ไม่ต้องสอน switch/case
  • ใช้ flow-chart และตัวอย่างเยอะ ๆ

ตัวอย่างโปรแกรม

คำนวณค่ามากที่สุดของจำนวนสามจำนวน

ขยาย

แสดงตัวอย่างการเขียนใน 8 รูปแบบ (ถ้าไม่ได้สอน expression ที่ใช้ ?: คงไม่ต้องยกตัวอย่างรูปแบบที่ 7/8)

โครงสร้างคำสั่งแบบวนซ้ำ

Notes: while, do-while ใช้ flow-chart ช่วย, แทรก ++/-- ณ จุดนี้

โครงสร้างคำสั่งแบบวนซ้ำและอาร์เรย์ 1 มิติ

Notes: for-loop, ใช้ flow chart ไฟล์อินพุต

โครงสร้างคำสั่งแบบวนซ้ำหลายชั้น

Notes: continue และ break

โปรแกรมย่อยขั้นสูง

Notes: เช่น pass by reference, ส่ง array เข้าเมท็อด, string processing

อาเรย์หลายมิติ

Notes: นำเข้าข้อมูลจาก csv

การแก้โจทย์เชิงประยุกต์

Notes: เสริมเนื้อหาเช่น GUI