ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการพิสูจน์ II/เฉลยข้อ 2"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าใหม่: (Base Case) n มีค่าเท่ากับ 1 และเราได้ว่าเส้นตรง 1 เส้นแบ่งระนาบอ...)
 
 
แถว 1: แถว 1:
 
(Base Case) n มีค่าเท่ากับ 1 และเราได้ว่าเส้นตรง 1 เส้นแบ่งระนาบออกเป็น 2 ส่วน ดังภาพ
 
(Base Case) n มีค่าเท่ากับ 1 และเราได้ว่าเส้นตรง 1 เส้นแบ่งระนาบออกเป็น 2 ส่วน ดังภาพ
  
: [[image:Lines-plane-basecase.jpg|width=300px]]
+
: [[image:Lines-plane-basecase.jpg|300px]]
 +
 
 +
(Induction Case) ให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก และสมมติให้เส้นตรง n เส้นใดๆ ที่ไม่มีเส้นสองเส้นใดๆ ขนานกัน และไม่มีเส้นสามเส้นใดๆ ตัดกันที่จุดจุดเดียว แบ่งระนาบออกเป็น <math>\frac{n^2+n+2}{2}</math> ส่วน
 +
 
 +
เมื่อเราลากเส้นตรงเส้นที่ n+1 เราจะได้ว่ามันจะตัดเส้นตรงอื่นๆ ที่มีอยู่แล้วทั้งหมด n เส้น กล่าวคือจะมีจุดตัดอยู่ทั้งหมด n จุด และจุดตัด n จุดนี้จะแบ่งเส้นตรงเส้นใหม่นี้ออกเป็น n+1 ส่วน ซึ่งส่วนทั้ง n+1 ส่วนนี้จะแบ่งพื้นที่ที่เคยมีอยู่แล้วออกเป็น 2 ส่วน ดังภาพ
 +
 
 +
: [[image:Lines-plane-inductioncase.jpg|300px]]
 +
 
 +
ฉะนั้นจะได้ว่ามีพื้นที่ใหม่เกิดขึ้น n+1 ส่วน กล่าวคือจะมีพื้นที่ใหม่ทั้งหมด <math>\frac{n^2+n+2}{2} + (n+1) = \frac{n^2 + 3n + 4}{2} = \frac{(n^2+2n+1) + (n+1) + 1}{2} = \frac{(n+1)^2 + (n+1) + 2}{2}</math>
 +
 
 +
ดังนั้นเราสามารถสรุปได้ว่าสำหรับจำนวนเต็ม n ใดๆ เส้นตรง n เส้นใดๆ ที่ไม่มีเส้นสองเส้นใดๆ ขนานกัน และไม่มีเส้นสามเส้นใดๆ ตัดกันที่จุดจุดเดียว แบ่งระนาบออกเป็น <math>\frac{n^2+n+2}{2}</math> ส่วน

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:36, 11 กรกฎาคม 2552

(Base Case) n มีค่าเท่ากับ 1 และเราได้ว่าเส้นตรง 1 เส้นแบ่งระนาบออกเป็น 2 ส่วน ดังภาพ

Lines-plane-basecase.jpg

(Induction Case) ให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก และสมมติให้เส้นตรง n เส้นใดๆ ที่ไม่มีเส้นสองเส้นใดๆ ขนานกัน และไม่มีเส้นสามเส้นใดๆ ตัดกันที่จุดจุดเดียว แบ่งระนาบออกเป็น ส่วน

เมื่อเราลากเส้นตรงเส้นที่ n+1 เราจะได้ว่ามันจะตัดเส้นตรงอื่นๆ ที่มีอยู่แล้วทั้งหมด n เส้น กล่าวคือจะมีจุดตัดอยู่ทั้งหมด n จุด และจุดตัด n จุดนี้จะแบ่งเส้นตรงเส้นใหม่นี้ออกเป็น n+1 ส่วน ซึ่งส่วนทั้ง n+1 ส่วนนี้จะแบ่งพื้นที่ที่เคยมีอยู่แล้วออกเป็น 2 ส่วน ดังภาพ

Lines-plane-inductioncase.jpg

ฉะนั้นจะได้ว่ามีพื้นที่ใหม่เกิดขึ้น n+1 ส่วน กล่าวคือจะมีพื้นที่ใหม่ทั้งหมด

ดังนั้นเราสามารถสรุปได้ว่าสำหรับจำนวนเต็ม n ใดๆ เส้นตรง n เส้นใดๆ ที่ไม่มีเส้นสองเส้นใดๆ ขนานกัน และไม่มีเส้นสามเส้นใดๆ ตัดกันที่จุดจุดเดียว แบ่งระนาบออกเป็น ส่วน