ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418531 ภาคต้น 2552/โจทยปัญหาอัลกอริทึมแบบแบ่งแยกแล้วเอาชนะ/เฉลยข้อ 1"
Aoy (คุย | มีส่วนร่วม) (หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'อินพุต: อะเรย์ <math>A[.] \,</math> ที่มีขนาดเป็น infinity ที่มีคุณส…') |
Aoy (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 10 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | อินพุต: อะเรย์ <math>A[.] \,</math> ที่มีขนาดเป็น infinity | + | อินพุต: อะเรย์ <math>A[.] \,</math> ที่มีขนาดเป็น infinity ที่มีคุณสมบัติคือสมาชิก <math> n \, </math> ตัวแรกมีค่าเป็นศูนย์ นอกนั้นมีค่าเป็นหนึ่ง |
เอาพุต: ค่า <math> n \, </math> | เอาพุต: ค่า <math> n \, </math> | ||
− | วัตถุ ที่เราต้องทำการตรวจสอบในข้อนี้คือ ตัวเลข 1,2,3,... (หรือ index ของอะเรย์นั่นเอง) ซึ่ง ค่า <math> n \, </math> จะเป็นค่าที่อยู่ในช่วงดังกล่าว และมีเงื่อนไขคือ A[0]ถึง A[n]มีค่าเป็นศูนย์ และ A[n+1] เป็นต้นไปมีค่าเป็นหนึ่ง (เขียนสั้น ๆ คือ A[n]=0 และ A[n+1]=1) แต่โจทย์ต้องการให้เวลาในการหาค่า <math> n \, </math> ดังกล่าวเป็น <math> O(log n) \, </math> จากการตัวอย่างการค้นหาในห้องเรียน เราได้เรียน binary search ไปแล้ว เราจะใช้วิธีดังกล่าว | + | วัตถุ ที่เราต้องทำการตรวจสอบในข้อนี้คือ ตัวเลข 1,2,3,... (หรือ index ของอะเรย์นั่นเอง) ซึ่ง ค่า <math> n \, </math> จะเป็นค่าที่อยู่ในช่วงดังกล่าว และมีเงื่อนไขคือ A[0]ถึง A[n]มีค่าเป็นศูนย์ และ A[n+1] เป็นต้นไปมีค่าเป็นหนึ่ง (เขียนสั้น ๆ คือ A[n]=0 และ A[n+1]=1) แต่โจทย์ต้องการให้เวลาในการหาค่า <math> n \, </math> ดังกล่าวเป็น <math>O(\log n) \,</math> จากการตัวอย่างการค้นหาในห้องเรียน เราได้เรียน binary search ไปแล้ว เราจะใช้วิธีดังกล่าว |
− | วิธีการค้นหาจะทำดังนี้ | + | วิธีการค้นหาจะทำดังนี้ ให้เริ่มค้นหาก่อนว่าค่าของอะเรย์ในตำแหน่งต่อไปนี้ <math>2^1, 2^2,2^3,...,2^j \,</math> เป็นศูนย์หรือไม่ การค้นหาดังกล่าวทำเพื่อที่จะจำกัดช่วงของคำตอบว่าค่าที่ต้องการอยู่ในช่วงไหนกันแน่ เพราะจากโจทย์ขนาดของอะเรย์ที่เป็นอินพุตมีขนาดไม่จำกัด ดังนั้นการหาค่ากลางจะทำไม่ได้ พอได้ช่วงของคำตอบที่เป็นไปได้ที่เป็นช่วงจำกัดมา เราจึงทำการหาแบบ binary search อีกทีว่าค่าที่ต้องการอยู่ตรงไหน |
+ | |||
+ | จากในห้องเรียนเราได้เห็นแล้วว่าเงื่อนไขของ binary search มีสามเงื่อนไขคือ หยุด ไปทางซ้าย และไปทางขวา สำหรับข้อนี้เงื่อนไขเหล่านี้จะเป็นดังนี้ | ||
:เงื่อนไขหยุด คือ A[k]=0 and A[k+1]=1 | :เงื่อนไขหยุด คือ A[k]=0 and A[k+1]=1 | ||
:เงื่อนไขไปทางซ้ายคือ A[k]=1 and A[k+1]=1 // แสดงว่าวิ่งเกินมาทางขวาเกินไปแล้ว คำตอบต้องอยู่ทางซ้ายแน่นอน | :เงื่อนไขไปทางซ้ายคือ A[k]=1 and A[k+1]=1 // แสดงว่าวิ่งเกินมาทางขวาเกินไปแล้ว คำตอบต้องอยู่ทางซ้ายแน่นอน | ||
:เงื่อนไขไปทางขวาคือ A[k]=0 and A[k+1]=0 // แสดงว่าวิ่งยังไม่ถึงคำตอบ วิ่งช้าไป คำตอบต้องอยู่ทางขวาแน่นอน | :เงื่อนไขไปทางขวาคือ A[k]=0 and A[k+1]=0 // แสดงว่าวิ่งยังไม่ถึงคำตอบ วิ่งช้าไป คำตอบต้องอยู่ทางขวาแน่นอน | ||
− | เมื่อนำแนวคิดดังกล่าวมาเขียนเป็น pseudocode จะได้ดังนี้ | + | เมื่อนำแนวคิดดังกล่าวมาเขียนเป็น pseudocode จะได้ดังนี้ (รอบแรกของการทำงานให้ ให้ j=1) |
+ | <geshi lang="c"> | ||
+ | FindInterval(a,j) | ||
+ | if j<0 | ||
+ | return -1 | ||
+ | else | ||
+ | k = 2^j | ||
+ | if a[k]=0 and a[k+1]=1 | ||
+ | return k | ||
+ | else if a[k]=1 and a[k+1]=1 | ||
+ | return FindN(a,2^(j-1),2^j) // ได้ช่วงจำกัดที่ต้องการมาแล้ว | ||
+ | else if a[k]= 0 and a[k+1]=0 | ||
+ | return FindInterval(a,j+1) // วิ่งไปหาช่วงต่อไปในอะเรย์ด้านขวา | ||
+ | </geshi> | ||
+ | |||
+ | <geshi lang="c"> | ||
FindN(a,i,j) | FindN(a,i,j) | ||
− | + | if j<i | |
− | + | return -1 | |
− | + | else | |
− | + | k = (i+j)/2 | |
− | + | if a[k]=0 and a[k+1]=1 | |
− | + | return k | |
− | + | else if a[k]=1 and a[k+1]=1 | |
− | + | return FindN(a,i,k-1) | |
− | + | else if a[k]= 0 and a[k+1]=0 | |
− | + | return FindN(a,k+1,j) | |
+ | </geshi> | ||
+ | |||
+ | เวลาการทำงานของอัลกอริทึมจะแบ่งออกเป็นการค้นหาใน FindN และการค้นหาใน FindInterval ซึ่ง FindInterval จะหยุดทำเมื่อค่า <math> n \leq 2^j < 2n \,</math> ซึ่งจะทำงานทั้งหมด <math> j \, </math> รอบ ส่วน FindN จะทำการหาค่า <math> n\, </math> ในช่วงย่อยที่อยู่ระหว่างค่าศูนย์กับหนึ่งแล้ว ซึ่งทำงานทั้งหมด <math> O(\log 2^j)=O(\log n) \,</math> รอบ ดังนั้นเวลาการทำงานทั้งหมดจะเป็น <math> j+O(\log n)=O(\log n) </math> รอบ |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 07:39, 4 กันยายน 2552
อินพุต: อะเรย์ ที่มีขนาดเป็น infinity ที่มีคุณสมบัติคือสมาชิก ตัวแรกมีค่าเป็นศูนย์ นอกนั้นมีค่าเป็นหนึ่ง
เอาพุต: ค่า
วัตถุ ที่เราต้องทำการตรวจสอบในข้อนี้คือ ตัวเลข 1,2,3,... (หรือ index ของอะเรย์นั่นเอง) ซึ่ง ค่า จะเป็นค่าที่อยู่ในช่วงดังกล่าว และมีเงื่อนไขคือ A[0]ถึง A[n]มีค่าเป็นศูนย์ และ A[n+1] เป็นต้นไปมีค่าเป็นหนึ่ง (เขียนสั้น ๆ คือ A[n]=0 และ A[n+1]=1) แต่โจทย์ต้องการให้เวลาในการหาค่า ดังกล่าวเป็น จากการตัวอย่างการค้นหาในห้องเรียน เราได้เรียน binary search ไปแล้ว เราจะใช้วิธีดังกล่าว
วิธีการค้นหาจะทำดังนี้ ให้เริ่มค้นหาก่อนว่าค่าของอะเรย์ในตำแหน่งต่อไปนี้ เป็นศูนย์หรือไม่ การค้นหาดังกล่าวทำเพื่อที่จะจำกัดช่วงของคำตอบว่าค่าที่ต้องการอยู่ในช่วงไหนกันแน่ เพราะจากโจทย์ขนาดของอะเรย์ที่เป็นอินพุตมีขนาดไม่จำกัด ดังนั้นการหาค่ากลางจะทำไม่ได้ พอได้ช่วงของคำตอบที่เป็นไปได้ที่เป็นช่วงจำกัดมา เราจึงทำการหาแบบ binary search อีกทีว่าค่าที่ต้องการอยู่ตรงไหน
จากในห้องเรียนเราได้เห็นแล้วว่าเงื่อนไขของ binary search มีสามเงื่อนไขคือ หยุด ไปทางซ้าย และไปทางขวา สำหรับข้อนี้เงื่อนไขเหล่านี้จะเป็นดังนี้
- เงื่อนไขหยุด คือ A[k]=0 and A[k+1]=1
- เงื่อนไขไปทางซ้ายคือ A[k]=1 and A[k+1]=1 // แสดงว่าวิ่งเกินมาทางขวาเกินไปแล้ว คำตอบต้องอยู่ทางซ้ายแน่นอน
- เงื่อนไขไปทางขวาคือ A[k]=0 and A[k+1]=0 // แสดงว่าวิ่งยังไม่ถึงคำตอบ วิ่งช้าไป คำตอบต้องอยู่ทางขวาแน่นอน
เมื่อนำแนวคิดดังกล่าวมาเขียนเป็น pseudocode จะได้ดังนี้ (รอบแรกของการทำงานให้ ให้ j=1)
<geshi lang="c"> FindInterval(a,j)
if j<0 return -1 else k = 2^j if a[k]=0 and a[k+1]=1 return k else if a[k]=1 and a[k+1]=1 return FindN(a,2^(j-1),2^j) // ได้ช่วงจำกัดที่ต้องการมาแล้ว else if a[k]= 0 and a[k+1]=0 return FindInterval(a,j+1) // วิ่งไปหาช่วงต่อไปในอะเรย์ด้านขวา
</geshi>
<geshi lang="c"> FindN(a,i,j)
if j<i return -1 else k = (i+j)/2 if a[k]=0 and a[k+1]=1 return k else if a[k]=1 and a[k+1]=1 return FindN(a,i,k-1) else if a[k]= 0 and a[k+1]=0 return FindN(a,k+1,j)
</geshi>
เวลาการทำงานของอัลกอริทึมจะแบ่งออกเป็นการค้นหาใน FindN และการค้นหาใน FindInterval ซึ่ง FindInterval จะหยุดทำเมื่อค่า ซึ่งจะทำงานทั้งหมด รอบ ส่วน FindN จะทำการหาค่า ในช่วงย่อยที่อยู่ระหว่างค่าศูนย์กับหนึ่งแล้ว ซึ่งทำงานทั้งหมด รอบ ดังนั้นเวลาการทำงานทั้งหมดจะเป็น รอบ