ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418342 ภาคปลาย 2552/ปฏิบัติการที่ 2"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 18 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 3 คน)
แถว 1: แถว 1:
 
== แบบฝึกหัด 1 ==
 
== แบบฝึกหัด 1 ==
 
<blockquote>
 
<blockquote>
หากเรามีข้อมูลตัวเลขจำนวนจริงที่ถูกเก็บอยู่ในอะเรย์ 2 ชุดซึ่งมีขนาดเท่ากัน  ให้ลองเขียนโค้ด ruby ที่ทำการบวกข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในอะเรย์ทั้ง 2 ดังลักษณะที่ปรากฏข้างล่างนี้ โดยให้ผลลัพธ์ของการบวกนี้ไปเก็บในอะเรย์อีกชุดนึง
+
จงสร้าง class Cat ที่สืบทอดมาจาก class Animal โดยให้เพิ่ม method ที่มีชื่อว่า nap เข้าไปใน class Cat นี้ และให้ใส่คำสั่ง puts ไว้ใน nap เพื่อแสดงข้อความว่า "I'm taking a nap"
 
</blockquote>
 
</blockquote>
  [ 2.5  4.0  1.0  6.1  ..............]  <- อะเรย์ชุดที่ 1
+
    class Animal
+ [ 1.5  3.5  0.0  3.1  ..............]  <- อะเรย์ชุดที่ 2
+
      def eat thing
  ---------------------------------------
+
          puts "I'm eating #{thing}"
  [ 4.0  7.5  1.0  9.2  ..............]  <- อะเรย์ผลลัพธ์
+
      end
 +
    end
 +
 
 +
<blockquote>
 +
=== แนะนำ ===
 +
Ruby กำหนดการสืบทอดโดยใช้เครื่องหมาย < ดังลักษณะการใช้ข้างล่างนี้
 +
</blockquote>
 +
    class B < A # เป็นการกำหนดให้ B เป็น subclass ของ A
 +
    end
 +
 
  
 
== แบบฝึกหัด 2 ==
 
== แบบฝึกหัด 2 ==
 +
<blockquote>
 +
จงแก้ไข method nap ในแบบฝึกหัดที่ 1 เพื่อให้รับค่าพารามิเตอร์ที่จะถูกส่งผ่านเข้ามา ซึ่งใช้เป็นค่าที่บอกถึงจำนวนเวลาหน่วยวินาทีที่ให้มีการแสดงข้อความ "I'm taking a nap" อย่างต่อเนื่อง โดยให้ข้อความที่แสดงแต่ละครั้งจะมีเวลาห่างกันประมาณ 1 วินาที
 +
</blockquote>
 +
<blockquote>
 +
=== แนะนำ ===
 +
* เราสามารถใช้ method sleep แล้วตามด้วยตัวเลขจำนวนเต็ม เพื่อบอกถึงจำนวนวินาทีที่ sleep จะพักการทำงานจนกว่าเวลาที่กำหนดนั้นจะหมดลง
 +
* เราสามารถใช้ method now ซึ่งเป็น method ของ class Time เพื่อใช้บอกเวลาของระบบในปัจจุบัน
 +
* หากเรานำค่าที่ได้จาก now มาบวกกับเลขจำนวนเต็มจำนวนหนึ่ง ผลที่ได้กลับมาจะเป็นเวลาที่ถูกบวกเพิ่มเข้าไปด้วยตัวเลขจำนวนนั้นที่มีหน่วยเป็นวินาที
 +
</blockquote>
 +
 +
== แบบฝึกหัด 3 ==
 +
<blockquote>
 +
หากเรามีข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็มบวกที่ถูกเก็บอยู่ในอะเรย์ 2 ชุดซึ่งมีขนาดเท่ากัน  ให้ลองเขียนโค้ด ruby ที่ทำการบวกข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในอะเรย์ทั้ง 2 ดังลักษณะที่ปรากฏข้างล่างนี้ โดยให้ผลลัพธ์ของการบวกนี้ไปเก็บในอะเรย์อีกชุดนึง
 +
</blockquote>
 +
    [ 20, 40, 10, 61, .............. ]  <- อะเรย์ชุดที่ 1
 +
+  [ 15, 35,  0, 31, .............. ]  <- อะเรย์ชุดที่ 2
 +
----------------------------------------
 +
    [ 35, 75, 10, 92, .............. ]  <- อะเรย์ผลลัพธ์
  
 
<blockquote>
 
<blockquote>
 +
=== แนะนำ ===
 +
โค้ดด้านล่างนี้สามารถสร้างเลขจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 0-99 จำนวน 20 ตัวไว้ในอะเรย์ arr
 
</blockquote>
 
</blockquote>
 +
    arr = []
 +
    20.times { arr << rand(100) }
 +
 +
== แบบฝึกหัด 4 ==
 +
<blockquote>
 +
จงสร้างฟังก์ชัน combine ที่รับพารามิเตอร์ 2 ตัวที่เป็นอะเรย์ของข้อมูลชนิดใดก็ได้และอะเรย์ทั้ง 2 ตัวนี้อาจมีขนาดไม่เท่ากันก็ได้ ให้ฟังก์ชันนี้ส่งกลับอะเรย์ที่มีสมาชิกเป็นอะเรย์ของข้อมูลที่มาจากอะเรย์ทั้ง 2 ณ ตำแหน่งที่เดียวกันในอะเรย์ ดังตัวอย่างที่ปรากฏข้างล่างนี้
 +
</blockquote>
 +
        [ 'a',  10,  2.5,  61 ]    <- อะเรย์ชุดที่ 1
 +
combine [  1,  2.3,  "Hello"]      <- อะเรย์ชุดที่ 2
 +
----------------------------------------
 +
        [ ['a',1], [10,2.3], [2.5,"Hello"], [61] ]  <- อะเรย์ที่ส่งกลับ
 +
 +
== แบบฝึกหัด 5 ==
 +
<blockquote>
 +
จงแก้ไขโปรแกรม client.rb และ server.rb เพื่อให้ server จัดเก็บข้อมูล string ที่ส่งเข้ามาจาก client ให้อยู่ในรูปของอะเรย์ที่เก็บอยู่ภายใน server และทุกครั้งที่ server ได้รับข้อมูลจาก client ที่ส่งเข้ามา ให้แสดงข้อมูลที่อยู่ในอะเรย์ออกมาบนหน้าจอของ server ด้วย
 +
</blockquote>
 +
  client.rb
 +
  ---------
 +
  require 'socket' 
 +
  host = '158.108.21.10'
 +
  port = 6667
 +
  s = TCPSocket.open(host,port) 
 +
  str = s.recv(100) 
 +
  s.close
 +
  puts str
 +
 +
  server.rb
 +
  ---------
 +
  require 'socket' 
 +
  port = 6667
 +
  server = TCPServer.open(port) 
 +
  loop do 
 +
    Thread.start(server.accept) do |s| 
 +
      print(s," is accepted\n") 
 +
      s.write(Time.now) 
 +
      print(s," is gone\n") 
 +
      s.close
 +
    end 
 +
  end

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:43, 26 พฤศจิกายน 2552

แบบฝึกหัด 1

จงสร้าง class Cat ที่สืบทอดมาจาก class Animal โดยให้เพิ่ม method ที่มีชื่อว่า nap เข้าไปใน class Cat นี้ และให้ใส่คำสั่ง puts ไว้ใน nap เพื่อแสดงข้อความว่า "I'm taking a nap"

   class Animal
      def eat thing
         puts "I'm eating #{thing}"
      end
   end

แนะนำ

Ruby กำหนดการสืบทอดโดยใช้เครื่องหมาย < ดังลักษณะการใช้ข้างล่างนี้

   class B < A  # เป็นการกำหนดให้ B เป็น subclass ของ A
   end


แบบฝึกหัด 2

จงแก้ไข method nap ในแบบฝึกหัดที่ 1 เพื่อให้รับค่าพารามิเตอร์ที่จะถูกส่งผ่านเข้ามา ซึ่งใช้เป็นค่าที่บอกถึงจำนวนเวลาหน่วยวินาทีที่ให้มีการแสดงข้อความ "I'm taking a nap" อย่างต่อเนื่อง โดยให้ข้อความที่แสดงแต่ละครั้งจะมีเวลาห่างกันประมาณ 1 วินาที

แนะนำ

  • เราสามารถใช้ method sleep แล้วตามด้วยตัวเลขจำนวนเต็ม เพื่อบอกถึงจำนวนวินาทีที่ sleep จะพักการทำงานจนกว่าเวลาที่กำหนดนั้นจะหมดลง
  • เราสามารถใช้ method now ซึ่งเป็น method ของ class Time เพื่อใช้บอกเวลาของระบบในปัจจุบัน
  • หากเรานำค่าที่ได้จาก now มาบวกกับเลขจำนวนเต็มจำนวนหนึ่ง ผลที่ได้กลับมาจะเป็นเวลาที่ถูกบวกเพิ่มเข้าไปด้วยตัวเลขจำนวนนั้นที่มีหน่วยเป็นวินาที

แบบฝึกหัด 3

หากเรามีข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็มบวกที่ถูกเก็บอยู่ในอะเรย์ 2 ชุดซึ่งมีขนาดเท่ากัน ให้ลองเขียนโค้ด ruby ที่ทำการบวกข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในอะเรย์ทั้ง 2 ดังลักษณะที่ปรากฏข้างล่างนี้ โดยให้ผลลัพธ์ของการบวกนี้ไปเก็บในอะเรย์อีกชุดนึง

   [ 20, 40, 10, 61, .............. ]  <- อะเรย์ชุดที่ 1
+  [ 15, 35,  0, 31, .............. ]  <- อะเรย์ชุดที่ 2
----------------------------------------
   [ 35, 75, 10, 92, .............. ]  <- อะเรย์ผลลัพธ์

แนะนำ

โค้ดด้านล่างนี้สามารถสร้างเลขจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 0-99 จำนวน 20 ตัวไว้ในอะเรย์ arr

   arr = []
   20.times { arr << rand(100) }

แบบฝึกหัด 4

จงสร้างฟังก์ชัน combine ที่รับพารามิเตอร์ 2 ตัวที่เป็นอะเรย์ของข้อมูลชนิดใดก็ได้และอะเรย์ทั้ง 2 ตัวนี้อาจมีขนาดไม่เท่ากันก็ได้ ให้ฟังก์ชันนี้ส่งกลับอะเรย์ที่มีสมาชิกเป็นอะเรย์ของข้อมูลที่มาจากอะเรย์ทั้ง 2 ณ ตำแหน่งที่เดียวกันในอะเรย์ ดังตัวอย่างที่ปรากฏข้างล่างนี้

        [ 'a',  10,   2.5,  61 ]    <- อะเรย์ชุดที่ 1
combine [  1,  2.3,  "Hello"]       <- อะเรย์ชุดที่ 2
----------------------------------------
        [ ['a',1], [10,2.3], [2.5,"Hello"], [61] ]  <- อะเรย์ที่ส่งกลับ

แบบฝึกหัด 5

จงแก้ไขโปรแกรม client.rb และ server.rb เพื่อให้ server จัดเก็บข้อมูล string ที่ส่งเข้ามาจาก client ให้อยู่ในรูปของอะเรย์ที่เก็บอยู่ภายใน server และทุกครั้งที่ server ได้รับข้อมูลจาก client ที่ส่งเข้ามา ให้แสดงข้อมูลที่อยู่ในอะเรย์ออกมาบนหน้าจอของ server ด้วย

  client.rb
  ---------
  require 'socket'  
  host = '158.108.21.10'
  port = 6667
  s = TCPSocket.open(host,port)   
  str = s.recv(100)   
  s.close 
  puts str 
  server.rb
  ---------
  require 'socket'  
  port = 6667
  server = TCPServer.open(port)   
  loop do  
    Thread.start(server.accept) do |s|   
      print(s," is accepted\n")   
      s.write(Time.now)   
      print(s," is gone\n")   
      s.close 
    end  
  end