ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418342 ภาคปลาย 2552/ปฏิบัติการที่ 6"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 21: แถว 21:
 
   $ rake db:migrate
 
   $ rake db:migrate
  
อาร์กิวเมนต์แรกเป็นชื่อของ model ที่ใช้เก็บข้อมูลบัญชีผู้ใช้ ซึ่งในที่นี้เราใช้ user เป็นชื่อของ model ส่วนอาร์กิวเมนต์ที่สอง
+
อาร์กิวเมนต์แรกเป็นชื่อของ model ที่ใช้เก็บข้อมูลบัญชีผู้ใช้ ซึ่งในที่นี้เราใช้ user เป็นชื่อของ model ส่วนอาร์กิวเมนต์ที่สองเป็นชื่อ controller ที่จะใช้ในการเข้าสู่ระบบ ซึ่งในที่นี้เราใช้ sessions เป็นชื่อของ controller
  
The nice thing about this is that the new/create actions relate to the resource that’s created during the signup. Simple apps will just use users/new and users/create. Larger hosted apps may use accounts, etc.
+
  - หากเราเปิดเข้าไปดูในไฟล์ session_controller.rb ที่ generator สร้างขึ้นมา บริเวณบรรทัดที่ 3-4 (โดยประมาณ)มีแนะนำให้เรานำบรรทัดเหล่านี้ไปไว้ใน Application Controller เพื่อที่ภายใน controller อื่นๆ สามารถเข้าถึงการใช้งาน plugin นี้ได้ด้วย
 
 
sessions controller
 
 
 
I’m a bit iffy on this. Though you’re not really exposing a session, it keep let this login/logout process separate from the rest of the app. This would also be a good place to hook into if you’re auditing logins or just tracking who’s currently online.
 

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:25, 8 มกราคม 2553

Restful Authentication

Restful Authentication เป็น plugin ที่ช่วยในการจัดการดูแลระบบบัญชีผู้ใช้ โดยใช้หลักการของ Rest ในการใช้งาน

การใช้งาน Restful Authentication

1. สร้าง rails application

เราจะเริ่มการใช้งาน Restful Authentication นี้โดยเริ่มจากการสร้าง rails application ที่จะนำไปใช้กับ plugin นี้

 $ rails App1
 $ cd App1
2. ติดตั้ง Restful Authentication plugin ไว้ภายใต้ไดเร็คทอรี่ของ application
 $ ruby script/plugin source http://svn.techno-weenie.net/projects/plugins
 $ ruby script/plugin install restful_authentication
3. นำ Restful Authentication plugin มาใช้งานใน application
 $ ruby script/generate authenticated user sessions
 $ rake db:migrate

อาร์กิวเมนต์แรกเป็นชื่อของ model ที่ใช้เก็บข้อมูลบัญชีผู้ใช้ ซึ่งในที่นี้เราใช้ user เป็นชื่อของ model ส่วนอาร์กิวเมนต์ที่สองเป็นชื่อ controller ที่จะใช้ในการเข้าสู่ระบบ ซึ่งในที่นี้เราใช้ sessions เป็นชื่อของ controller

 - หากเราเปิดเข้าไปดูในไฟล์ session_controller.rb ที่ generator สร้างขึ้นมา บริเวณบรรทัดที่ 3-4 (โดยประมาณ)มีแนะนำให้เรานำบรรทัดเหล่านี้ไปไว้ใน Application Controller เพื่อที่ภายใน controller อื่นๆ สามารถเข้าถึงการใช้งาน plugin นี้ได้ด้วย