ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Ioi-workshop-2010"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 17: แถว 17:
 
** น่าจะมีข้อมูลเกี่ยวกับแต่ละประเทศ รวมถึงส่วนของอดีตผู้เข้าแข่งขัน เพื่อให้นักเรียนปัจจุบันเห็นตัวอย่าง
 
** น่าจะมีข้อมูลเกี่ยวกับแต่ละประเทศ รวมถึงส่วนของอดีตผู้เข้าแข่งขัน เพื่อให้นักเรียนปัจจุบันเห็นตัวอย่าง
 
** ควรจะมีส่วนที่เขียนเรียบเรียงอย่างดี (เป็นแบบ journalistic) บ้าง
 
** ควรจะมีส่วนที่เขียนเรียบเรียงอย่างดี (เป็นแบบ journalistic) บ้าง
 +
 +
=== วันที่ 17 พฤษภาคม ===

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:21, 17 พฤษภาคม 2553

หน้านี้เป็นรายงานการเข้าร่วม IOI Workshop ที่ Schoss Dagstuhl

บันทึกประจำวัน

วันที่ 16 พฤษภาคม

  • เดินทางถึง Dagstuhl เวลาประมาณ 18:00
  • สำหรับวันแรกเริ่มประชุมเวลา 20:00 โดยเริ่มต้นด้วยการตกลงกันเรื่องกำหนดการของ workshop และผลลัพธ์ที่ควรจะได้รับ
    • ในช่วงแรกผู้เข้าประชุมแนะนำตัวเอง และให้ระบุสาขา/ประเด็นที่ถนัด เพื่อจะได้ทำให้การแบ่งกลุ่มในวันที่ 2 สะดวกขึ้น
  • จากนั้น Martins Opmanis เริ่มนำเสนอข้อสังเกตจากการเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันด้าน informatics โดยมีหัวข้อ/คำถาม เช่น
    • กิจกรรมโดยมากเกิดขึ้นแค่ชั่วเวลาสั้น ๆ
    • เรื่องการกำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำในการเข้าร่วม
    • ประโยชน์ของการเข้าร่วม IOI (เช่น ข้อมูลว่าเข้าแล้วได้อะไรบ้าง อนาคตของผู้เข้าแข่งขันเป็นอย่างไร)
    • โจทย์ยากขึ้นทุกปี ขณะที่ขอบเขตของ IOI ก็ไม่ได้เป็นตัวแทนของการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ทั้งหมด
    • การมีคลังโจทย์ อาจจะทำได้ยากเนื่องจากปัญหาการรักษาความลับ
  • หลังจากนั้น Wolfgang Pohl ได้นำเสนอในหัวข้อ IOI Educational Repository โดยกล่าวว่าเว็บที่ดูแลคนเดียวมีปัญหามาก และได้พูดถึงประเด็นของสิ่งที่ควรจะมีในระบบเว็บไซต์ที่สามารถร่วมมือกันได้ (collaboration website)
    • การจัดหมวดหมู่ (ontology) ของเนื้อหา ควรจะจัดได้หลายแบบ เช่น ตามเนื้อหาใน cs, ตามความยาก, อายุ, ภาษา
    • น่าจะมีข้อมูลเกี่ยวกับแต่ละประเทศ รวมถึงส่วนของอดีตผู้เข้าแข่งขัน เพื่อให้นักเรียนปัจจุบันเห็นตัวอย่าง
    • ควรจะมีส่วนที่เขียนเรียบเรียงอย่างดี (เป็นแบบ journalistic) บ้าง

วันที่ 17 พฤษภาคม