ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบัดกรีแผงวงจรพ่วง"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 21 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
อุปกรณ์ที่ใช้มีดังนี้
+
== ผังวงจร (Schematic) ==
 +
 
 +
[[Image:peri-schem.png|center|800px]]
 +
 
 +
'''หมายเหตุ:'''
 +
* เส้นวงจรที่ระบุชื่อเดียวกัน (เช่น PC0) มีการเชื่อมต่อหากัน (ชอร์ตกัน)
 +
* เส้น VCC จะถูกนำไปต่อเข้ากับไฟเลี้ยง +5V ในระหว่างการใช้งาน
 +
* เส้น GND จะถูกนำไปต่อเข้ากับกราวนด์ของไฟเลี้ยงในระหว่างการใช้งาน
 +
 
 +
== อุปกรณ์ที่ใช้ ==
  
 
{| class="wikitable"
 
{| class="wikitable"
แถว 11: แถว 20:
 
|-
 
|-
 
| ตัวต้านทาน 10K โอห์ม
 
| ตัวต้านทาน 10K โอห์ม
แถบสี: น้ำตาล ดำ ส้ม ทอง
+
* แถบสี: น้ำตาล ดำ ส้ม ทอง
| [[Image:R10k-schem|center|250px]]
+
| [[Image:R10k-schem.png|center]]
 
| [[Image:R10k.png|250px]]
 
| [[Image:R10k.png|250px]]
 
|-
 
|-
 
| ตัวต้านทาน 330 โอห์ม
 
| ตัวต้านทาน 330 โอห์ม
แถบสี: ส้ม ส้ม น้ำตาล ทอง
+
* แถบสี: ส้ม ส้ม น้ำตาล ทอง
 +
| [[Image:R330-schem.png|center]]
 
| [[Image:R330.png|250px]]
 
| [[Image:R330.png|250px]]
 
|-
 
|-
 
| สวิตช์กดติดปล่อยดับ
 
| สวิตช์กดติดปล่อยดับ
 +
* <span style="color:red;">ทิศทางการวางมีผลต่อการเชื่อมต่อ</span>
 +
| [[Image:BTN-schem.png|center]]
 
| [[Image:BTN.png|250px]]
 
| [[Image:BTN.png|250px]]
<span style="color:red;">ทิศทางการวางมีผลต่อการเชื่อมต่อ</span>
 
 
|-
 
|-
 
| ไดโอดเปล่งแสง (Light-Emitting Diode -- LED) สีแดง เหลือง และเขียว
 
| ไดโอดเปล่งแสง (Light-Emitting Diode -- LED) สีแดง เหลือง และเขียว
 +
* <span style="color:red;">วางขั้วให้ถูกต้อง</span>
 +
* สีแดงต่อกับขา PC0
 +
* สีเหลืองต่อกับขา PC1
 +
* สีเขียวต่อกับขา PC2
 +
| [[Image:LED-schem.png|center|250px]]
 
| [[Image:LED.png|250px]]
 
| [[Image:LED.png|250px]]
<span style="color:red;">วางขั้วให้ถูกต้อง</span>
 
 
|-
 
|-
 
| ตัวต้านทานไวแสง (Light-Dependent Resistor -- LDR)
 
| ตัวต้านทานไวแสง (Light-Dependent Resistor -- LDR)
 +
| [[Image:LDR-schem.png|center]]
 
| [[Image:LDR.png|250px]]
 
| [[Image:LDR.png|250px]]
 
|-
 
|-
 
| คอนเน็ตเตอร์ 5x2 ขา
 
| คอนเน็ตเตอร์ 5x2 ขา
 +
* <span style="color:red;">เสียบด้านสั้นลงบนบอร์ด หันด้านยาวขึ้น</span>
 +
| [[Image:con5x2-schem.png|center]]
 
| [[Image:connector-5x2.png|250px]]
 
| [[Image:connector-5x2.png|250px]]
<span style="color:red;">เสียบด้านสั้นลงบนบอร์ด หันด้านยาวขึ้น</span>
 
 
|}
 
|}
 +
 +
== บอร์ดที่บัดกรีเสร็จแล้ว ==
 +
 +
[[Image:peri.png|none|800px]]
 +
 +
== ขั้นตอนการบัดกรี ==
 +
 +
1. บัดกรีเฉพาะอุปกรณ์ก่อน โดยวางอุปกรณ์ด้านบนของบอร์ดให้อยู่ในตำแหน่งดังภาพ
 +
 +
[[Image:peri-1.png|none|400px]]
 +
 +
: เพื่อความสะดวก ให้บัดกรีเฉพาะขาอุปกรณ์ก่อนโดยยังไม่ต้องเชื่อมอุปกรณ์เข้าด้วยกัน และไม่ต้องตัดขาอุปกรณ์บางจุดทิ้งเพื่อนำไปใช้เป็นตัวเชื่อมโยงกับจุดบัดกรีอื่น ๆ
 +
 +
[[Image:peri-2.png|none|400px]]
 +
 +
2. นำเศษขาที่เหลือจากการบัดกรีมาเชื่อมอุปกรณ์เข้าด้วยกันตามที่ระบุไว้ในผังวงจร โดยเลือกเชื่อมจุดที่แน่ใจว่าไม่มีการพาดตัดกันก่อน
 +
 +
[[Image:peri-3.png|none|400px]]
 +
 +
3. ใช้สายแกนแข็ง (เช่นสายไฟที่อยู่ในสายแลน) มาเชื่อมวงจรในส่วนที่เหลือที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการพาดตัดกันได้
 +
 +
[[Image:peri-4.png|none|400px]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 05:15, 8 กันยายน 2557

ผังวงจร (Schematic)

Peri-schem.png

หมายเหตุ:

  • เส้นวงจรที่ระบุชื่อเดียวกัน (เช่น PC0) มีการเชื่อมต่อหากัน (ชอร์ตกัน)
  • เส้น VCC จะถูกนำไปต่อเข้ากับไฟเลี้ยง +5V ในระหว่างการใช้งาน
  • เส้น GND จะถูกนำไปต่อเข้ากับกราวนด์ของไฟเลี้ยงในระหว่างการใช้งาน

อุปกรณ์ที่ใช้

อุปกรณ์ สัญลักษณ์ในผังวงจร ภาพถ่าย
บอร์ดไข่ปลา Prototype.png
ตัวต้านทาน 10K โอห์ม
  • แถบสี: น้ำตาล ดำ ส้ม ทอง
R10k-schem.png
R10k.png
ตัวต้านทาน 330 โอห์ม
  • แถบสี: ส้ม ส้ม น้ำตาล ทอง
R330-schem.png
R330.png
สวิตช์กดติดปล่อยดับ
  • ทิศทางการวางมีผลต่อการเชื่อมต่อ
BTN-schem.png
BTN.png
ไดโอดเปล่งแสง (Light-Emitting Diode -- LED) สีแดง เหลือง และเขียว
  • วางขั้วให้ถูกต้อง
  • สีแดงต่อกับขา PC0
  • สีเหลืองต่อกับขา PC1
  • สีเขียวต่อกับขา PC2
LED-schem.png
LED.png
ตัวต้านทานไวแสง (Light-Dependent Resistor -- LDR)
LDR-schem.png
LDR.png
คอนเน็ตเตอร์ 5x2 ขา
  • เสียบด้านสั้นลงบนบอร์ด หันด้านยาวขึ้น
Con5x2-schem.png
Connector-5x2.png

บอร์ดที่บัดกรีเสร็จแล้ว

Peri.png

ขั้นตอนการบัดกรี

1. บัดกรีเฉพาะอุปกรณ์ก่อน โดยวางอุปกรณ์ด้านบนของบอร์ดให้อยู่ในตำแหน่งดังภาพ

Peri-1.png
เพื่อความสะดวก ให้บัดกรีเฉพาะขาอุปกรณ์ก่อนโดยยังไม่ต้องเชื่อมอุปกรณ์เข้าด้วยกัน และไม่ต้องตัดขาอุปกรณ์บางจุดทิ้งเพื่อนำไปใช้เป็นตัวเชื่อมโยงกับจุดบัดกรีอื่น ๆ
Peri-2.png

2. นำเศษขาที่เหลือจากการบัดกรีมาเชื่อมอุปกรณ์เข้าด้วยกันตามที่ระบุไว้ในผังวงจร โดยเลือกเชื่อมจุดที่แน่ใจว่าไม่มีการพาดตัดกันก่อน

Peri-3.png

3. ใช้สายแกนแข็ง (เช่นสายไฟที่อยู่ในสายแลน) มาเชื่อมวงจรในส่วนที่เหลือที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการพาดตัดกันได้

Peri-4.png