ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Python Programming/Variables and Assignments"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Cardcaptor (คุย | มีส่วนร่วม) (สร้างหน้าใหม่: == นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ == โดยทั่วไปแล้วนิพจน์ทางคณิตศาสตร...) |
Cardcaptor (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | = | + | เราสามารถกำหนดค่าให้ตัวแปรได้โดยใช้เครื่องหมายเท่ากับ (=) |
− | |||
<pre title="interpreter"> | <pre title="interpreter"> | ||
− | >>> | + | >>> x = 20 |
− | + | >>> 2*x | |
− | >>> | + | 40 |
− | + | >>> y = x+5 | |
− | >>> | + | >>> y |
− | + | 25 | |
− | >>> | + | >>> y**2 |
− | + | 625 | |
− | >>> | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
</pre> | </pre> | ||
− | + | สังเกตว่าในภาษาไพทอน เราไม่จำเป็นตัองประกาศชื่อและชนิดของตัวแปรล่วงหน้าเหมือนภาษา C, C++, หรือ Java นอกจากนี้ตัวแปรในภาษาไพธอนจะเก็บข้อมูลชนิดใดก็ได้ และชนิดข้อมูลที่มันเก็บก็สามารถเปลี่ยนไปได้เรื่อยๆ ถ้ามันถูกกำหนดค่าใหม่ เช่น | |
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
<pre title="interpreter"> | <pre title="interpreter"> | ||
− | >>> | + | >>> x = 428 |
− | + | >>> x/3 | |
− | >>> | + | 142 |
− | + | >>> x = x * 1.0 | |
+ | >>> x/3 | ||
+ | 142.66666666666666 | ||
</pre> | </pre> | ||
− | + | เราสามารถกำหนดตัวแปรหลายๆ ตัวให้มีค่าเดียวกันได้เหมือนในภาษา C | |
<pre title="interpreter"> | <pre title="interpreter"> | ||
− | >>> | + | >>> x = y = z = 0 |
− | + | >>> x | |
− | >>> | + | 0 |
− | + | >>> y | |
+ | 0 | ||
+ | >>> z | ||
+ | 0 | ||
</pre> | </pre> | ||
− | + | หรือจะกำหนดค่าให้ตัวแปรทีละหลายๆ ตัวก็ได้ | |
− | |||
<pre title="interpreter"> | <pre title="interpreter"> | ||
− | >>> | + | >>> x, y, z = 1, 2, 3 |
− | + | >>> x | |
− | >>> | + | 1 |
− | + | >>> y | |
− | >>> 2 | + | 2 |
− | + | >>> z | |
− | >>> | + | 3 |
− | |||
− | |||
− | |||
</pre> | </pre> | ||
− | {{Python Programming/Navigation| | + | {{Python Programming/Navigation|Mathematical Expressions|Functions}} |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:58, 15 ตุลาคม 2551
เราสามารถกำหนดค่าให้ตัวแปรได้โดยใช้เครื่องหมายเท่ากับ (=)
>>> x = 20 >>> 2*x 40 >>> y = x+5 >>> y 25 >>> y**2 625
สังเกตว่าในภาษาไพทอน เราไม่จำเป็นตัองประกาศชื่อและชนิดของตัวแปรล่วงหน้าเหมือนภาษา C, C++, หรือ Java นอกจากนี้ตัวแปรในภาษาไพธอนจะเก็บข้อมูลชนิดใดก็ได้ และชนิดข้อมูลที่มันเก็บก็สามารถเปลี่ยนไปได้เรื่อยๆ ถ้ามันถูกกำหนดค่าใหม่ เช่น
>>> x = 428 >>> x/3 142 >>> x = x * 1.0 >>> x/3 142.66666666666666
เราสามารถกำหนดตัวแปรหลายๆ ตัวให้มีค่าเดียวกันได้เหมือนในภาษา C
>>> x = y = z = 0 >>> x 0 >>> y 0 >>> z 0
หรือจะกำหนดค่าให้ตัวแปรทีละหลายๆ ตัวก็ได้
>>> x, y, z = 1, 2, 3 >>> x 1 >>> y 2 >>> z 3
หน้าก่อน: Mathematical Expressions | สารบัญ | หน้าต่อไป: Functions |