ผลต่างระหว่างรุ่นของ "01204223 การปฏิบัติการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Chaiporn (คุย | มีส่วนร่วม) |
Chaiporn (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
แถว 34: | แถว 34: | ||
** [[การสื่อสารผ่านพอร์ทอนุกรม]] | ** [[การสื่อสารผ่านพอร์ทอนุกรม]] | ||
** [[การติดตั้งไลบรารี RXTX]] | ** [[การติดตั้งไลบรารี RXTX]] | ||
+ | ** [[ตัวอย่างโปรแกรมสำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์]] | ||
=== วีดีทัศน์ === | === วีดีทัศน์ === | ||
แถว 62: | แถว 63: | ||
** [https://www.youtube.com/watch?v=ZvJrOgB8rQM การรับอินพุทแบบดิจิทัลและวงจรสวิตช์] | ** [https://www.youtube.com/watch?v=ZvJrOgB8rQM การรับอินพุทแบบดิจิทัลและวงจรสวิตช์] | ||
** [https://www.youtube.com/watch?v=zEN12Das9bU การรับอินพุทแบบแอนะล็อกและวงจรวัดแสง] | ** [https://www.youtube.com/watch?v=zEN12Das9bU การรับอินพุทแบบแอนะล็อกและวงจรวัดแสง] | ||
+ | ** [https://www.youtube.com/watch?v=iQV7ihRT_5I การพัฒนาเฟิร์มแวร์ด้วย Arduino IDE] (ไม่อัพเดต) | ||
* การสื่อสารกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านพอร์ต USB | * การสื่อสารกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านพอร์ต USB | ||
** [https://www.youtube.com/watch?v=T7SPOsHbQWw การพัฒนาอุปกรณ์ USB: คอนเซ็ปต์และการเตรียมตัว] | ** [https://www.youtube.com/watch?v=T7SPOsHbQWw การพัฒนาอุปกรณ์ USB: คอนเซ็ปต์และการเตรียมตัว] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 02:01, 19 เมษายน 2562
หน้านี้รวบรวมลิงก์ของเอกสารและวิดีโอประกอบการเรียนวิชาการ 01204223 ปฏิบัติการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Practicum for Computer Engineering) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เนื้อหา
เอกสารและสื่อการสอน
สไลด์บรรยาย
- s1-unix: ยูนิกซ์ เทอร์มินัล และเชลล์
- s2-redict: การผันทิศทางอินพุท/เอาท์พุทและการเชื่อมต่อคำสั่งด้วยไปป์
- s8-makefile: การจัดการเวิร์กโฟลว์ด้วย Makefile
- h2-prototyping: การสร้างวงจรต้นแบบ
- h3-soldering: การบัดกรีชิ้นงานอิเล็คทรอนิกส์
- h4-mcu: ไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องต้น
- h5-peri: แผงวงจรพ่วง
- h6-c: ภาษาซีสำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์
- h7-usb: การสื่อสารกับไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านพอร์ท USB
- h8-multitask: มัลติทาสกิ้งด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์
- h9-sensors: การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตรวจวัด
- 99-project: การพัฒนาโครงงาน
วิกิ
- ยูนิกซ์เบื้องต้น
- ไมโครคอนโทรลเลอร์ การบัดกรี และการออกแบบวงจร
- การบัดกรีแผงวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์
- การพัฒนาเฟิร์มแวร์สำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์
- การแก้ไขสิทธิการเข้าถึงพอร์ท USB ของบอร์ด MCU
- การออกแบบและสร้างแผ่นวงจรพิมพ์
- แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)
- การวัดสัญญาณแอนะล็อกด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์
- การจำลองบอร์ด MCU เป็นอุปกรณ์ USB
- การติดตั้งไลบรารี PyUSB
- มัลติทาสกิ้งบนไมโครคอนโทรลเลอร์
- มัลติทาสกิ้งด้วยไลบรารี Protothreads
- การติดต่อกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านพอร์ท USB ด้วย Arduino
- การพัฒนาเฟิร์มแวร์ด้วย Arduino IDE
- การสื่อสารผ่านพอร์ทอนุกรม
- การติดตั้งไลบรารี RXTX
- ตัวอย่างโปรแกรมสำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์
วีดีทัศน์
- การใช้งานยูนิกซ์เบื้องต้น
- พาธในยูนิกซ์ ตอนที่ 1 เกริ่นนำเกี่ยวกับ shell และแนะนำแนวคิดของโครงสร้างไดเร็กทอรี
- พาธในยูนิกซ์ ตอนที่ 2 อธิบายแนวคิดของ working directory และการอ้างถึงไฟล์โดยอิงกับ working directory, ทดลองใช้คำสั่ง ls, cd, pwd และ cp
- พาธในยูนิกซ์ ตอนที่ 3 อธิบายวิธีการอ้างถึงไฟล์ในรูปแบบอื่น ๆ เช่นการอ้างแบบ absolute (/) อ้างผ่าน home (~) และการอ้างถึงตำแหน่งนั้นเอง (.) กับการอ้างถึงไดเร็กทอรีก่อนหน้า (..)
- glob และการกระจายคำสั่ง ตอนที่ 1 ยกตัวอย่างการใช้ pattern เพื่อแทนชื่อไฟล์ และอธิบายการทำงานของ command expansion/substitution
- glob และการกระจายคำสั่ง ตอนที่ 2 แนะนำการใช้ *, ?, และ [..] ในการทำ filename expansion ใน shell
- แนะนำการใช้งานรีไดเรคชันและไปป์ พร้อมยกตัวอย่างด้วยคำสั่ง grep และ wc และแนะนำคำสั่ง tee
- การประกอบวงจร
- ภาษาซีและการพัฒนาเฟิร์มแวร์
- การพัฒนาเฟิร์มแวร์สำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์
- ภาษาซีสำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์และการดำเนินการระดับบิต
- การแยกซอร์สโค้ดภาษาซีเป็นหลายไฟล์
- การจัดการเวิร์กโฟลว์ด้วยคำสั่ง make
- การใช้แพทเทิร์นใน Makefile
- การรับอินพุทแบบดิจิทัลและวงจรสวิตช์
- การรับอินพุทแบบแอนะล็อกและวงจรวัดแสง
- การพัฒนาเฟิร์มแวร์ด้วย Arduino IDE (ไม่อัพเดต)
- การสื่อสารกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านพอร์ต USB
- การออกแบบแผ่นวงจรพิมพ์
- ตอนที่ 1 การเตรียมตัว
- ตอนที่ 2 การวาดแผนผังวงจร (schematic)
- ตอนที่ 3 การออกแบบแผ่นวงจรพิมพ์ (PCB)
ชีตแล็บ
เอกสารและไฟล์อื่น ๆ
- Datasheet สำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์เบอร์ ATMega168
- บอร์ด Practicum v3