ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการวิเคราะห์เชิงการจัด/เฉลยข้อ 9"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 8: แถว 8:
  
 
== ข้อย่อย 3 ==
 
== ข้อย่อย 3 ==
ให้ <math> S_i </math> คือสตริงที่มีความยาว <math> i, i=5,6,7 </math> จากโจทย์ต้องการรู้ <math> |S_5 \cup S_6 \cup S_7| </math> ซึ่งจากกฏการบวกจะได้ว่า <math> |S_5 \cup S_6 \cup S_7|=|S_5|+|S_6|+|S_7| </math>
+
ให้ <math> S_i </math> คือสตริงที่มีความยาว <math> i; i=5,6,7 </math> จากโจทย์ต้องการรู้ <math> |S_5 \cup S_6 \cup S_7| </math> ซึ่งจากกฏการบวกจะได้ว่า <math> |S_5 \cup S_6 \cup S_7|=|S_5|+|S_6|+|S_7| </math>
  
 
เมื่อพิจารณา <math> |S_5| </math> จะสามารถแยกออกเป็นกรณีต่าง ๆ ดังนี้
 
เมื่อพิจารณา <math> |S_5| </math> จะสามารถแยกออกเป็นกรณีต่าง ๆ ดังนี้
แถว 23: แถว 23:
  
 
ดังนั้น <math> |S_5|=10+20+10+30+20=90 </math> แบบ
 
ดังนั้น <math> |S_5|=10+20+10+30+20=90 </math> แบบ
 +
 +
เมื่อพิจารณา <math> |S_6| </math> จะสามารถแยกออกเป็นกรณีต่าง ๆ ดังนี้
 +
 +
กรณีที่ 1 สตริงความยาว 6 ที่ประกอบไปด้วย S 3 ตัว และ E 3 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{6!}{3!3!}=20 </math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 2 สตริงความยาว 6 ที่ประกอบไปด้วย S 3 ตัว  E 2 ตัว และ R 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{6!}{3!2!1!}=60 </math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 3 สตริงความยาว 6 ที่ประกอบไปด้วย S 2 ตัว E 3 ตัว และ R 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{6!}{2!3!1!}=60 </math> แบบ
 +
 +
ดังนั้น <math> |S_6|=20+60+60=140 </math> แบบ
 +
 +
เมื่อพิจารณา <math> |S_7| </math> จะมีกรณีเดียวคือ สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย S 3 ตัว E 3 ตัว และ R 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด
 +
<math> \frac{7!}{3!3!1!}=140 </math> แบบ
 +
 +
ดังนั้น <math> |S_7|=140 </math> แบบ
 +
 +
จากข้างต้นจึงสามารถสรุปได้ว่า <math> |S_5 \cup S_6 \cup S_7|=|S_5|+|S_6|+|S_7|=90+140+140=370</math> แบบ
 +
 +
== ข้อย่อย 4 ==
 +
ให้ <math> S_i </math> คือสตริงที่มีความยาว <math> i; i=7,8,9 </math> จากโจทย์ต้องการรู้ <math> |S_7 \cup S_8 \cup S_9| </math> ซึ่งจากกฏการบวกจะได้ว่า <math> |S_7 \cup S_8 \cup S_9|=|S_7|+|S_8|+|S_9| </math>
 +
 +
เมื่อพิจารณา <math> |S_7| </math> จะสามารถแยกออกเป็นกรณีต่าง ๆ ดังนี้
 +
 +
กรณีที่ 1 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว และ R 2 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{7!}{4!1!2!}= 105</math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 2 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว G 1 ตัว และ R 2 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{7!}{4!1!2!}= 105 </math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 3 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว N 1 ตัว และ R 2 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{7!}{4!1!2!}= 105</math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 4 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว R 1 ตัว และ G 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{7!}{4!1!1!1!}= 210</math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 5 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว R 1 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{7!}{4!1!1!1!}= 210</math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 6 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{7!}{4!1!1!1!}= 210</math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 7 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว R 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{7!}{4!1!1!1!}= 210</math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 8 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 3 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว และ G 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{7!}{3!1!2!1!}= 420 </math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 9 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 3 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{7!}{3!1!2!1!}= 420</math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 10 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 3 ตัว R 2 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{7!}{3!2!1!1!}= 420</math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 11 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 3 ตัว V 1 ตัว R 1 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{7!}{3!1!1!1!1!}= 840</math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 12 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 2 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{7!}{2!1!2!1!}= 1260</math> แบบ
 +
 +
ดังนั้น <math> |S_7|= 4(210)+3(420) +840 +1260  = 4200</math> แบบ
 +
 +
เมื่อพิจารณา <math> |S_8| </math> จะสามารถแยกออกเป็นกรณีต่าง ๆ ดังนี้
 +
 +
กรณีที่ 1 สตริงความยาว 8 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว และ G 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{8!}{4!1!2!1!}= 840</math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 2 สตริงความยาว 8 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{8!}{4!1!2!1!}= 840</math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 3 สตริงความยาว 8 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว R 1 ตัว G 1 ตัว  และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{8!}{4!1!1!1!1!}= 1680</math> แบบ
 +
 +
กรณีที่ 4 สตริงความยาว 8 ที่ประกอบไปด้วย E 3 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด <math> \frac{8!}{3!1!2!1!1!}= 3360</math> แบบ
 +
 +
ดังนั้น <math> |S_8|= 840+840+1680+3360 =6720 </math> แบบ
 +
 +
เมื่อพิจารณา <math> |S_9| </math> จะมีกรณีเดียวคือ สตริงความยาว 9 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว G 1 ตัว และ  1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด
 +
<math> \frac{9!}{4!1!2!1!1!}=7560 </math> แบบ
 +
 +
ดังนั้น <math> |S_9|= 7560</math> แบบ
 +
 +
ดังนั้น <math> |S_7 \cup S_8 \cup S_9|=|S_7|+|S_8|+|S_9|=18480</math> แบบ

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:55, 1 สิงหาคม 2552

ข้อย่อย 1

จากคำว่า MISSISSIPPI มีความยาว 11 ตัว และจะได้ว่ามีตัวอักษร M อยู่ 1 ตัว,ตัวอักษร I อยู่ 4 ตัว, ตัวอักษร S อยู่ 4 ตัว, ตัวอักษร P อยู่ 2 ตัว

จาก Bookkepper Rule จะได้ว่าจำนวนของสตริงทั้งหมดที่ได้จากการเรียงตัวอักษรในคำว่า MISSISSIPI ใหม่ แบบ

ข้อย่อย 2

จากคำว่า AARDVARK ถ้าต้องการให้ตัวอักษร A ทั้งสามตัวติดกันเสมอ จะมองเหมือนกับ AAA เป็นตัวอักษร 1 ตัว ดังนั้นตัวอักษรทั้งหมดที่จะนำมาเรียงจะกลายเป็น 6 ตัวอักษร โดยที่มีตัวอักษร A 1 ตัว (จริง ๆ คือ AAA) ตัวอักษร R 2 ตัว ตัวอักษร D 1 ตัว ตัวอักษร V 1 ตัว และตัวอักษร K 1 ตัว ดังนั้นจาก Bookkeepper Rule จะได้ว่าจำนวนสตริงทั้งหมดที่ได้จากการเรียงตัวอักษรในคำว่า AARDVARK ใหม่โดยที่ตัวอักษร A ทั้งสามตัวจะต้องอยู่ติดกันคือ แบบ

ข้อย่อย 3

ให้ คือสตริงที่มีความยาว จากโจทย์ต้องการรู้ ซึ่งจากกฏการบวกจะได้ว่า

เมื่อพิจารณา จะสามารถแยกออกเป็นกรณีต่าง ๆ ดังนี้

กรณีที่ 1 สตริงความยาว 5 ที่ประกอบไปด้วย S 3 ตัว และ E 2 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 2 สตริงความยาว 5 ที่ประกอบไปด้วย S 3 ตัว E 1 ตัว และ R 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 3 สตริงความยาว 5 ที่ประกอบไปด้วย S 2 ตัว และ E 3 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 4 สตริงความยาว 5 ที่ประกอบไปด้วย S 2 ตัว E 2 ตัวและ R 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 5 สตริงความยาว 5 ที่ประกอบไปด้วย S 1 ตัว E 3 ตัวและ R 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

ดังนั้น แบบ

เมื่อพิจารณา จะสามารถแยกออกเป็นกรณีต่าง ๆ ดังนี้

กรณีที่ 1 สตริงความยาว 6 ที่ประกอบไปด้วย S 3 ตัว และ E 3 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 2 สตริงความยาว 6 ที่ประกอบไปด้วย S 3 ตัว E 2 ตัว และ R 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 3 สตริงความยาว 6 ที่ประกอบไปด้วย S 2 ตัว E 3 ตัว และ R 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

ดังนั้น แบบ

เมื่อพิจารณา จะมีกรณีเดียวคือ สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย S 3 ตัว E 3 ตัว และ R 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

ดังนั้น แบบ

จากข้างต้นจึงสามารถสรุปได้ว่า แบบ

ข้อย่อย 4

ให้ คือสตริงที่มีความยาว จากโจทย์ต้องการรู้ ซึ่งจากกฏการบวกจะได้ว่า

เมื่อพิจารณา จะสามารถแยกออกเป็นกรณีต่าง ๆ ดังนี้

กรณีที่ 1 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว และ R 2 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 2 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว G 1 ตัว และ R 2 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 3 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว N 1 ตัว และ R 2 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 4 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว R 1 ตัว และ G 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 5 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว R 1 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 6 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 7 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว R 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 8 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 3 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว และ G 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 9 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 3 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 10 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 3 ตัว R 2 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 11 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 3 ตัว V 1 ตัว R 1 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 12 สตริงความยาว 7 ที่ประกอบไปด้วย E 2 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

ดังนั้น แบบ

เมื่อพิจารณา จะสามารถแยกออกเป็นกรณีต่าง ๆ ดังนี้

กรณีที่ 1 สตริงความยาว 8 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว และ G 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 2 สตริงความยาว 8 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 3 สตริงความยาว 8 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว R 1 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

กรณีที่ 4 สตริงความยาว 8 ที่ประกอบไปด้วย E 3 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว G 1 ตัว และ N 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

ดังนั้น แบบ

เมื่อพิจารณา จะมีกรณีเดียวคือ สตริงความยาว 9 ที่ประกอบไปด้วย E 4 ตัว V 1 ตัว R 2 ตัว G 1 ตัว และ 1 ตัว จาก Bookkepper Rule จะได้ทั้งหมด แบบ

ดังนั้น แบบ

ดังนั้น แบบ