ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาความน่าจะเป็น I/เฉลยข้อ 7"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย '== ข้อย่อย 1 == == ข้อย่อย 2 ==')
 
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
 
== ข้อย่อย 1 ==
 
== ข้อย่อย 1 ==
 +
จากวิธีการสร้างสับเซต X ที่ในการโยนเหรียญครั้งที่ i ถ้าเหรียญออกหัว จะให้เลข i เป็นสมาชิกของ X ถ้าออกก้อยจะไม่ให้เป็นสมาชิกของ X
 +
 +
เนื่องจากเหรียญเป็นเหรียญไม่ถ่วงน้ำหนัก ดังนั้นความน่าจะเป็นที่เหรียญจะออกหัวจะเท่ากับออกก้อยคือ 1/2
 +
 +
ดังนั้นความน่าจะเป็นที่เลข i จะเป็นสมาชิกของ X จะเท่ากับความน่าจะเป็นที่เลข i ไม่เป็นสมาชิกของ X ซึ่งเท่ากับ 1/2
 +
 +
เนื่องจากการโยนเหรียญในแต่ละครั้งเป็นอิสระจากกัน ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่สับเซตทุกสับเซตจะเป็นผลลัพธ์ของกระบวนการนี้มีค่าเท่ากันคือ <math>\frac {1}{2^n}</math>
  
 
== ข้อย่อย 2 ==
 
== ข้อย่อย 2 ==
 +
พิจารณาสมาชิกของสับเซต X และ Y ไปพร้อม ๆ กันทีละตัว เนื่องจาก <math>X \subseteq Y</math> จะได้ว่า
 +
 +
ถ้าสมาชิกตัวที่ i ของ X (เมื่อ i มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง n) โยนเหรียญได้หัว สมาชิกตัวนี้ใน Y ก็ต้องได้หัวด้วย (สมาชิกตัวนี้อยู่ใน X แล้วต้องอยู่ใน Y ด้วย)
 +
 +
แต่ถ้าสมาชิกตัวที่ i ของ X โยนเหรียญได้ก้อย สมาชิกตัวนี้ใน Y อาจได้ก้อยหรือหัวก็ได้
 +
 +
ฉะนั้นอาจเขียนเหตุการณ์ที่ <math>X \subseteq Y</math> ด้วยวิธีการสร้างดังกล่าวได้เป็น 3 แบบ คือ
 +
 +
X: H  T  T
 +
 +
Y: H  T  H
 +
 +
ดังนั้น <math>Pr(X \subseteq Y)=\frac {3^n}{2^{2n}}</math>
 +
 +
ส่วน <math>Pr(X \cup Y=\{1,2,..,n\})</math> พิจารณาได้ดังนี้ เนื่องจาก <math>X \cup Y=\{1,2,..,n\}</math> จะได้ว่า
 +
 +
เมื่อพิจารณาสมาชิกตัวที่ i ที่ i มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง n ถ้าสมาชิกตัวที่ i นี้ใน X โยนเหรียญแล้วได้ก้อย ต้องโยนเหรียญแล้วได้หัวใน Y
 +
 +
หรือ ถ้าโยนเหรียญแล้วได้ก้อยใน Y ต้องโยนเหรียญแล้วได้หัวใน X (ต้องมีสมาชิกตัวนี้ในเซต X หรือ Y)
 +
 +
แต่ถ้าโยนเหรียญแล้วได้หัวใน X หรือ Y จะโยนเหรียญแล้วได้หัวหรือก้อยก็ได้ใน Y และ X (หรือจะมีสมาชิกตัวนี้ในทั้งสองเซตเลยก็ได้)
 +
 +
X: T H H
 +
Y: H T H
 +
 +
ดังนั้น <math>Pr(X \cup Y={1,2,..,n})=\frac {3^n}{2^{2n}}</math> เหมือนกัน

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:36, 3 สิงหาคม 2552

ข้อย่อย 1

จากวิธีการสร้างสับเซต X ที่ในการโยนเหรียญครั้งที่ i ถ้าเหรียญออกหัว จะให้เลข i เป็นสมาชิกของ X ถ้าออกก้อยจะไม่ให้เป็นสมาชิกของ X

เนื่องจากเหรียญเป็นเหรียญไม่ถ่วงน้ำหนัก ดังนั้นความน่าจะเป็นที่เหรียญจะออกหัวจะเท่ากับออกก้อยคือ 1/2

ดังนั้นความน่าจะเป็นที่เลข i จะเป็นสมาชิกของ X จะเท่ากับความน่าจะเป็นที่เลข i ไม่เป็นสมาชิกของ X ซึ่งเท่ากับ 1/2

เนื่องจากการโยนเหรียญในแต่ละครั้งเป็นอิสระจากกัน ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่สับเซตทุกสับเซตจะเป็นผลลัพธ์ของกระบวนการนี้มีค่าเท่ากันคือ

ข้อย่อย 2

พิจารณาสมาชิกของสับเซต X และ Y ไปพร้อม ๆ กันทีละตัว เนื่องจาก จะได้ว่า

ถ้าสมาชิกตัวที่ i ของ X (เมื่อ i มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง n) โยนเหรียญได้หัว สมาชิกตัวนี้ใน Y ก็ต้องได้หัวด้วย (สมาชิกตัวนี้อยู่ใน X แล้วต้องอยู่ใน Y ด้วย)

แต่ถ้าสมาชิกตัวที่ i ของ X โยนเหรียญได้ก้อย สมาชิกตัวนี้ใน Y อาจได้ก้อยหรือหัวก็ได้

ฉะนั้นอาจเขียนเหตุการณ์ที่ ด้วยวิธีการสร้างดังกล่าวได้เป็น 3 แบบ คือ

X: H T T

Y: H T H

ดังนั้น

ส่วน พิจารณาได้ดังนี้ เนื่องจาก จะได้ว่า

เมื่อพิจารณาสมาชิกตัวที่ i ที่ i มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง n ถ้าสมาชิกตัวที่ i นี้ใน X โยนเหรียญแล้วได้ก้อย ต้องโยนเหรียญแล้วได้หัวใน Y

หรือ ถ้าโยนเหรียญแล้วได้ก้อยใน Y ต้องโยนเหรียญแล้วได้หัวใน X (ต้องมีสมาชิกตัวนี้ในเซต X หรือ Y)

แต่ถ้าโยนเหรียญแล้วได้หัวใน X หรือ Y จะโยนเหรียญแล้วได้หัวหรือก้อยก็ได้ใน Y และ X (หรือจะมีสมาชิกตัวนี้ในทั้งสองเซตเลยก็ได้)

X: T H H Y: H T H

ดังนั้น เหมือนกัน