ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Self-evaluation:course areas"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 4: แถว 4:
 
* เป็นการเปิดรับข้อคิดเห็นจากคณาจารย์ในกลุ่มเกี่ยวกับทิศทางของแต่ละด้านของวิชาในหลักสูตร  
 
* เป็นการเปิดรับข้อคิดเห็นจากคณาจารย์ในกลุ่มเกี่ยวกับทิศทางของแต่ละด้านของวิชาในหลักสูตร  
 
* ระบุข้อควรระวังต่าง ๆ ในการนำหลักสูตรไปใช้ เช่นจุดเชื่อมต่อระหว่างวิชาแต่ละด้าน  โดยข้อมูลในส่วนนี้อาจจะได้จากประสบการณ์หรือจากการวิเคราะห์ก็ได้
 
* ระบุข้อควรระวังต่าง ๆ ในการนำหลักสูตรไปใช้ เช่นจุดเชื่อมต่อระหว่างวิชาแต่ละด้าน  โดยข้อมูลในส่วนนี้อาจจะได้จากประสบการณ์หรือจากการวิเคราะห์ก็ได้
 +
 +
== การดำเนินงานของแต่ละกลุ่ม ==
 +
* หัวหน้ากลุ่มฟอร์มทีมดำเนินงาน
 +
* ภาระงานในหลักสูตรปัจจุบัน
 +
** ทำแบบฟอร์ม มคอ. 3 สำหรับภาคการศึกษาปัจจุบัน (ภาคปลาย 2553)
 +
* ภาระงานในหลักสูตรใหม่
 +
** สรุปสถานะปัจจุบันและทิศทางในอนาคตของหลักสูตร เพื่อใช้ในวิจัยสถาบัน
 +
** ปรับรายวิชาและความเชื่อมโยงระหว่างวิชาในหลักสูตรใหม่ ตามแบบ มคอ. 2
  
 
== รายการผลลัพธ์คร่าว ๆ จากแต่ละกลุ่ม ==
 
== รายการผลลัพธ์คร่าว ๆ จากแต่ละกลุ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:41, 1 ธันวาคม 2553

หน้านี้เก็บรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องการได้รับจากการระดมสมองอาจารย์กลุ่มรายวิชาย่อย เพื่อใช้ในการจัดทำวิจัยสถาบันเพื่อการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทั้งหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และวิศวกรรมซอฟต์แวร์และความรู้

เป้าหมาย

  • เป็นการเปิดรับข้อคิดเห็นจากคณาจารย์ในกลุ่มเกี่ยวกับทิศทางของแต่ละด้านของวิชาในหลักสูตร
  • ระบุข้อควรระวังต่าง ๆ ในการนำหลักสูตรไปใช้ เช่นจุดเชื่อมต่อระหว่างวิชาแต่ละด้าน โดยข้อมูลในส่วนนี้อาจจะได้จากประสบการณ์หรือจากการวิเคราะห์ก็ได้

การดำเนินงานของแต่ละกลุ่ม

  • หัวหน้ากลุ่มฟอร์มทีมดำเนินงาน
  • ภาระงานในหลักสูตรปัจจุบัน
    • ทำแบบฟอร์ม มคอ. 3 สำหรับภาคการศึกษาปัจจุบัน (ภาคปลาย 2553)
  • ภาระงานในหลักสูตรใหม่
    • สรุปสถานะปัจจุบันและทิศทางในอนาคตของหลักสูตร เพื่อใช้ในวิจัยสถาบัน
    • ปรับรายวิชาและความเชื่อมโยงระหว่างวิชาในหลักสูตรใหม่ ตามแบบ มคอ. 2

รายการผลลัพธ์คร่าว ๆ จากแต่ละกลุ่ม

หมายเหตุแสดงเป็นตัวเอียง

1. รายงานสถานะปัจจุบัน ประกอบไปด้วย

1.1 ความสำคัญและบทบาทของรายวิชาในกลุ่มต่อหลักสูตรในภาพรวม
  • (การพิจารณาบทบาทเช่น จำนวนหน่วยกิตของรายวิชาที่ได้รับในกลุ่มวิชาหลัก จำนวนวิชาเลือกในกลุ่ม)
1.2 ความเชื่อมโยงกับวิชาในกลุ่มอื่น ๆ
  • (เช่น เป็นพื้นฐานของวิชาในกลุ่มใด ต้องการวิชาใดเป็นวิชาพื้นฐาน หรือมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกัน)

2. รายงานทิศทางในอนาคต ประกอบไปด้วย

2.1 ทิศทางในอนาคตที่สำคัญ และผลกระทบต่อรายวิขาในกลุ่มตนเอง
  • ในการพิจารณาทิศทางอาจแยกพิจารณาระหว่างทิศทางของการทำวิจัย กับทิศทางของวิชาในอุตสาหกรรม
  • ผลกระทบอาจจะระบุว่าควรเพิ่มหรือลดเนื้อหาส่วนใด อาจจะมีการเสนอเพิ่มหรือลดรายวิชา ในกรณีเพิ่มหรือลดรายวิชาควรระบุเหตุผลที่ชัดเจน
  • สำหรับกลุ่มวิชาที่รับผิดชอบทั้ง CPE และ SKE อาจจะต้องมีการวิเคราะห์แยกกันเนื่องจากมีรายวิชาที่ไม่เหมือนกัน
2.2 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่เสนอ กับรายวิชาในกลุ่มอื่น ๆ

3. สรุปแนวทางการปรับปรุงวิชา (ถ้ามี)

รายการกลุ่มวิชาย่อย

ด้านล่างเป็นรายการกลุ่มย่อยพร้อมรายการวิชาที่อยู่ในกลุ่ม (บางส่วน) พร้อมด้วยชื่อผู้รับผิดชอบ

  1. Fundamental & Theory (จิตร์ทัศน์)
    • Courses: ComProg, Discrete, ADT, Practicum, Theory of Computation, Algorithms, Probability, Transform, etc
  2. Hardware and Computer System (เขมะฑัต)
    • Courses: Circuit, Elec, Digital, Architectures, uC/uP, Embedded, etc
  3. System Software (ภารุจ)
    • Courses: System software, OS, ProLang, Compilers, etc
  4. Software Tech
    1. Core subjects: Database (อินทิราภรณ์)
    2. Software engineering: SoftEn, LargeSoft (พันธุ์ปิติ)
    3. Knowledge engineering: ML, AI, warehouse, mining (กฤษณะ)
    4. IT (จิตติ)
  5. Networks (อนันต์)
    • Courses: Data comm., Network, Network Lab, Security, etc

หมายเหตุ: รายวิชาและทิศทางของหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์และความรู้จะถูกดูแลหลัก ๆ โดยกลุ่ม Software Tech โดยเฉพาะกลุ่ม Software engineering และกลุ่ม Knowledge engineering