ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Self-evaluation:fundamental"
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 3: | แถว 3: | ||
ในการแก้ไข กรุณากดปุ่ม '''<nowiki>[แก้ไข]</nowiki>''' ด้านขวามือขอหัวข้อเพื่อเลือกแก้ไขเป็นหัวข้อ หรือกดลิงก์ '''แก้ไข''' ด้านบนหน้าเพื่อแก้ไขทั้งหน้า | ในการแก้ไข กรุณากดปุ่ม '''<nowiki>[แก้ไข]</nowiki>''' ด้านขวามือขอหัวข้อเพื่อเลือกแก้ไขเป็นหัวข้อ หรือกดลิงก์ '''แก้ไข''' ด้านบนหน้าเพื่อแก้ไขทั้งหน้า | ||
− | เนื่องจากลักษณะเฉพาะของวิชาในกลุ่ม Fundamental | + | เนื่องจากลักษณะเฉพาะของวิชาในกลุ่ม Fundamental จะขอนำเสนอภาพรวม จากนั้นจึงจะวิเคราะห์แยกเป็นกลุ่ม ๆ และอาจะมีหัวข้อแตกต่างจากกลุ่มอื่น ๆ |
+ | |||
+ | == ภาพรวมของประเด็นกลุ่ม Fundamental == | ||
+ | |||
+ | : รอการเพิ่มเติมเนื้อหา | ||
== 01204111 Computer and Programming == | == 01204111 Computer and Programming == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:10, 18 ธันวาคม 2553
หน้านี้เป็นหน้าสำหรับพัฒนาส่วนของข้อมูลเพื่อจัดทำวิจัยสถาบัน ในส่วนของการวิเคราะห์เนื้อหาหลักสูตรในรายวิชากลุ่มย่อย โครงด้านล่างสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม
ในการแก้ไข กรุณากดปุ่ม [แก้ไข] ด้านขวามือขอหัวข้อเพื่อเลือกแก้ไขเป็นหัวข้อ หรือกดลิงก์ แก้ไข ด้านบนหน้าเพื่อแก้ไขทั้งหน้า
เนื่องจากลักษณะเฉพาะของวิชาในกลุ่ม Fundamental จะขอนำเสนอภาพรวม จากนั้นจึงจะวิเคราะห์แยกเป็นกลุ่ม ๆ และอาจะมีหัวข้อแตกต่างจากกลุ่มอื่น ๆ
เนื้อหา
- 1 ภาพรวมของประเด็นกลุ่ม Fundamental
- 2 01204111 Computer and Programming
- 3 01204223 Practicum in CPE
- 4 Discrete mathematics, Abstract Data Types, and Algorithms
- 5 Theory of Computation
- 6 Probability and Random Processes for CPE
- 7 Transform Techniques for Signal Processing in CPE
ภาพรวมของประเด็นกลุ่ม Fundamental
- รอการเพิ่มเติมเนื้อหา
01204111 Computer and Programming
รายงานสถานะปัจจุบัน
ความสำคัญและบทบาทของรายวิชาในกลุ่มต่อหลักสูตรในภาพรวม
วิชาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรมเป็นวิชาพื้นฐานและสอนนิสิตให้เขียนโปรแกรมเป็นภาษาแรก ด้านล่างเป็น description
- โครงสร้างพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ การแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ การแก้ปัญหาด้วยขั้นตอนวิธี การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาระดับสูง การฝึกปฏิบัติการโปรแกรมด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
ความเชื่อมโยงกับวิชาในกลุ่มอื่น ๆ
ควรจะเป็นวิชาพื้นฐานของวิชา เช่น ADT (CPE) หรือ OOP (SKE) หรือ Programming Skill อย่างไรก็ตาม เนื่องจากเหตุผลบางอย่างทำให้ไม่สามารถบังคับให้เป็นวิชาพื้นฐานได้
รายงานทิศทางในอนาคต
ทิศทางในอนาคตที่สำคัญ
- การพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุกลายเป็นแนวคิดที่สำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมถึงแนวคิดด้านการโปรแกรมเชิงขนาน (multi-core) ที่อาจจะสำคัญกับวิศวกรคอมพิวเตอร์
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปรับหลักสูตร
- การแยกวิชาคอมพิวเตอร์และการโปรแกรมออกมาเป็นอีกวิชาหนึ่งพิเศษสำหรับหลักสูตร SKE หรือ CPE เพื่อที่จะได้เน้นเนื้อหาที่เข้มข้นมากขึ้น และทำให้การจัดการรายวิชาที่ต้องเรียนต่อเนื่องทำได้สะดวกขึ้น
- ไม่มีปัญหาเรื่องนิสิตหลายกลุ่มสำหรับหลักสูตร SKE แต่สำหรับ CPE อาจมีปัญหากับนิสิตที่เลือกเข้าสาขาวิชาในภายหลังได้
- ในกรณีที่สามารถแยกเป็นรายวิชาอื่นออกมาบังคับเฉพาะได้ ควรจะมีการเพิ่มเนื้อหาอื่น ๆ หรือมีการปรับเนื้อหาหรือไม่? เช่น เริ่มต้นสอนด้วยการโปรแกรมเชิงวัตถุเลย หรือว่าจะเพิ่มการโปรแกรมเชิงขนาน
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่เสนอ กับรายวิชาในกลุ่มอื่น ๆ
- ยังไม่ได้ระดมสมอง
สรุปแนวทางการปรับปรุงวิชา
- ยังไม่ได้ระดมสมอง
01204223 Practicum in CPE
รายงานสถานะปัจจุบัน
คำอธิบายรายวิชา
- ส่วนประกอบของพีซีและการติดตั้งระบบปฏิบัติการสมัยใหม่ การใช้ ดูแล และ พัฒนาโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการสมัยใหม่ การติดตั้งโปรแกรมจากรหัส ต้นฉบับ การใช้เครื่องมือเพื่อออกแบบลายวงจร และการประกอบวงจรอิเล็คทรอนิคส์พื้นฐาน กระบวนการสร้างแผ่นปริ๊นท์ โครงงานขนาดเล็ก
วิชาดังกล่าวออกแบบเพื่อแทนวิชา Workshop เดิม ที่เน้นวิชาเชิงช่างวิศวกรรม โดยเพิ่มให้เน้นวิชาเชิงเทคนิคคอมพิวเตอร์ ถ้าพิจารณาคำอธิบายรายวิชา เนื้อหาที่มีคือ (ตัวหนาคือเนื้อหาที่สอนในปัจจุบัน)
- software:
- การประกอบเครื่องและลง OS: ส่วนประกอบของพีซีและการติดตั้งระบบปฏิบัติการสมัยใหม่
- การพัฒนาโปรแกรม: การใช้ ดูแล และ พัฒนาโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการสมัยใหม่
- การลงโปรแกรมและคอมไพล์: การติดตั้งโปรแกรมจากรหัส ต้นฉบับ
- hardware:
- การใช้เครื่องมือเพื่อออกแบบลายวงจร
- และการประกอบวงจรอิเล็คทรอนิคส์พื้นฐาน
- กระบวนการสร้างแผ่นปริ๊นท์
- บูรณาการ:
- โครงงานขนาดเล็ก
เนื้อหาที่เพิ่มมาคือ: การทดลองวงจรดิจิทัลเบื้องต้น, การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ, และเครื่องมือการพัฒนาซอฟต์แวร์สมัยใหม่ เช่น source code version control
ความสำคัญและบทบาทของรายวิชาในกลุ่มต่อหลักสูตรในภาพรวม
เป้าหมายดั่งเดิมของวิชานี้เป็นเหมือนวิชาอุดช่องโหว่ด้านการปฏิบัติการ ที่พื้นฐานกว่าเนื้อหาอื่น ๆ และเน้นการฝึกด้านทักษะเป็นหลัก
ความเชื่อมโยงกับวิชาในกลุ่มอื่น ๆ
- ไม่มีการเชื่อมโยงที่เห็นได้ชัดและเป็นทางการ
- อาจมีความเกี่ยวข้องกับวิชา Programming Skill Development บ้าง แต่ในวิชาดังกล่าว เน้นการพัฒนาโปรแกรมเชิง algorithmic ส่วนวิชานี้ เน้นลักษณะของเครื่องมือการพัฒนาเชิงวิศวกรรมซอฟต์แวร์มากกว่า
รายงานทิศทางในอนาคต
ทิศทางในอนาคตที่สำคัญ และผลกระทบต่อรายวิขาในกลุ่มตนเอง
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปรับหลักสูตร
- ควรต้องมีการปรับคำอธิบายรายวิชาให้สอดคล้องกับการเรียนการสอนปัจจุบัน หรือเขียนให้กว้างกว่าที่เป็นอยู่
- เนื้อหาใดบ้าง ที่จัดเป็น "งานเชิงฝีมือ" สำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
- ควรเพิ่มวิชาลักษณะนี้ เข้าไปในหลักสูตร SKE หรือไม่ เช่นการใช้งาน UNIX เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงที่เสนอ
- ยังไม่มีการระดมสมอง
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่เสนอ กับรายวิชาในกลุ่มอื่น ๆ
- ยังไม่มีการระดมสมอง
สรุปแนวทางการปรับปรุงวิชา
- ยังไม่มีการระดมสมอง