ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 5: แถว 5:
 
It's good to get a fresh way of looinkg at it.
 
It's good to get a fresh way of looinkg at it.
  
== วงจรวัดแสง ==
+
I'm quite pleased with the infmoatrion in this one. TY!
วงจรส่วนนี้อาศัยอุปกรณ์ที่เรียกว่า [http://en.wikipedia.org/wiki/Light_Dependent_Resistor Light Dependent Resister (LDR)] หรือเรียกอีกอย่างว่า photoresistor ซึ่งเป็นตัวต้านทานที่มีค่าผันแปรตามแสง โดยทั่วไปแล้ว LDR มักจะให้ค่าความต้านทานต่ำ (เข้าใกล้ค่าศูนย์) เมื่อแสงมาก และให้ค่าความต้านทานสูง (เข้าใกล้ค่าอนันต์) เมื่อแสงน้อย
 
 
 
เนื่องจากไมโครคอนโทรลเลอร์ไม่สามารถอ่านค่าความต้านทานได้โดยตรง แต่สามารถวัดค่าแรงดันที่เปลี่ยนแปลงที่ขาอินพุทได้ ดังนั้นเราจึงต้องนำเอาอุปกรณ์ LDR มาต่อเป็นวงจรที่ให้ค่าแรงดันผันแปรไปตามแสง จากรูป (3) ด้านบนเรานำเอา LDR มาต่ออนุกรมกับ R4 และจ่ายไฟเลี้ยงคร่อมอุปกรณ์ทั้งคู่ สมมติว่า LDR1 ให้ค่าความต้านทานเป็น <math>R_L</math> เราสามารถคำนวณหาความต่างศักย์ที่สัญญาณ PC4 จากกฎการแบ่งแรงดันได้ดังนี้
 
 
 
:<math>V_{PC4} = VCC \times \frac{R4}{R_L+R4}</math>
 
 
 
จากสูตรข้างต้น เมื่อแสงสว่างมาก <math>R_L</math> จะมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ ทำให้ <math>V_{PC4}</math> มีค่าเข้าใกล้ <math>VCC</math> (5 โวลท์) ในทางตรงกันข้าม หากแสงสว่างน้อย <math>R_L</math> จะมีค่าเข้าใกล้อนันต์ ทำให้ <math>V_{PC4}</math> มีค่าเข้าใกล้ศูนย์ เราสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมไมโครคอนโทรลเลอร์ AVR ให้ตีความค่าแรงดันเหล่านี้ได้ด้วยความละเอียดสูงถึง 10 บิต (1024 ระดับ) ซึ่งศึกษาจากบทความ[[การวัดสัญญาณแอนะล็อกด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์]]เพิ่มเติม
 
  
 
== โปรแกรมทดสอบแผงวงจรพ่วง ==
 
== โปรแกรมทดสอบแผงวงจรพ่วง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:56, 17 กุมภาพันธ์ 2555

เราประกอบแผงวงจรนี้เพื่อใช้เป็นวงจรทดสอบและเรียนรู้การใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ โดยต่อผ่านสายแพเข้ากับ JP2 (พอร์ท C) ของแผงวงจรหลัก วงจรพ่วงประกอบไปด้วยวงจรย่อยสามวงจร ได้แก่ (1) วงจรแสดงผล LED สามสี (2) วงจรสวิตช์อินพุท และ (3) วงจรวัดแสง

Peri-schem.png

It's good to get a fresh way of looinkg at it.

I'm quite pleased with the infmoatrion in this one. TY!

โปรแกรมทดสอบแผงวงจรพ่วง

เพื่อตรวจสอบว่าแผงวงจรพ่วงที่ทำขึ้นมาใช้งานได้ถูกต้อง โหลดโปรแกรม testperi.hex (ซอร์สโค้ด) และใช้คำสั่ง avrdude เพื่อเขียนแฟลชบนบอร์ด หากวงจรไม่มีความผิดพลาด โปรแกรมควรมีพฤติกรรมดังนี้

  • LED 3 ดวงบนบอร์ดพ่วงทำหน้าที่เป็นตัววัดแสง โดยจะติดทีละดวงเท่านั้น สีแดงจะติดเมื่อแสงมืด และสีเขียวจะติดเมื่อไฟสว่าง ส่วนสีเหลืองจะติดเมื่อแสงปานกลาง
  • เมื่อกดและปล่อยสวิตช์บนบอร์ดพ่วง (ไม่ใช่สวิตช์รีเซ็ตบนบอร์ดหลัก) LED สีเขียวบนบอร์ดหลักจะติดและดับสลับกันไป

บทความที่เกี่ยวข้อง