ผลต่างระหว่างรุ่นของ "01204435/javascript"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 3: แถว 3:
 
เอกสารอ้างอิงประกอบการทำแลบสามารถเอกสารจาก [https://developer.mozilla.org/en-US/docs/Web/JavaScript?redirectlocale=en-US&redirectslug=JavaScript หน้า JavaScript ของ Mozilla Developer Network] ได้ โดยอาจจะดูในส่วนของ [https://developer.mozilla.org/en-US/docs/Web/JavaScript/Guide JavaScript Guide]
 
เอกสารอ้างอิงประกอบการทำแลบสามารถเอกสารจาก [https://developer.mozilla.org/en-US/docs/Web/JavaScript?redirectlocale=en-US&redirectslug=JavaScript หน้า JavaScript ของ Mozilla Developer Network] ได้ โดยอาจจะดูในส่วนของ [https://developer.mozilla.org/en-US/docs/Web/JavaScript/Guide JavaScript Guide]
  
== javascript: functions 1 ==
+
== javascript: การทดลองเกี่ยวกับ scope ==
  
ใน javascript มีวิธีการประกาศ function ได้หลายแบบ  สองรูปแบบหลัก ๆ ที่เห็นมีดังตัวอย่างด้านล่าง  แบบแรกคือประกาศฟังก์ชัน a เลย
+
=== scope ใน block และใน function ===
 
 
function a() {
 
  return 10;
 
}
 
 
 
และอีกแบบคือการประกาศฟังก์ชัน โดยไม่ระบุชื่อ จากนั้นค่อยนำไปกำหนดค่าให้กับตัวแปรที่แทนฟังก์ชันนั้น
 
 
 
var b = function() {
 
  return 20;
 
};
 
 
 
ในการใช้งานทั่วไป เราจะไม่ค่อยพบความแตกต่างมาก แต่ให้พิจารณาตัวอย่างด้านล่างนี้
 
 
 
== javascript: การทดลองเกี่ยวกับ scope ==
 
  
 
=== ตำแหน่งในการประกาศ ===
 
=== ตำแหน่งในการประกาศ ===
แถว 37: แถว 23:
 
จากผลการทดลอง ให้อธิบายขอบเขตของตัวแปร x ในตัวอย่างแรก
 
จากผลการทดลอง ให้อธิบายขอบเขตของตัวแปร x ในตัวอย่างแรก
  
=== scope ใน block และใน function ===
+
== javascript: functions 1 ==
 +
 
 +
ใน javascript มีวิธีการประกาศ function ได้หลายแบบ  สองรูปแบบหลัก ๆ ที่เห็นมีดังตัวอย่างด้านล่าง  แบบแรกคือประกาศฟังก์ชัน a เลย
 +
 
 +
function a() {
 +
  return 10;
 +
}
 +
 
 +
และอีกแบบคือการประกาศฟังก์ชัน โดยไม่ระบุชื่อ จากนั้นค่อยนำไปกำหนดค่าให้กับตัวแปรที่แทนฟังก์ชันนั้น
 +
 
 +
var b = function() {
 +
  return 20;
 +
};
 +
 
 +
ในการใช้งานทั่วไป เราจะไม่ค่อยพบความแตกต่างมาก แต่ให้พิจารณาตัวอย่างด้านล่างนี้
  
 
== javascript: objects ==
 
== javascript: objects ==
  
 
== node.js: event-driven i/o ==
 
== node.js: event-driven i/o ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:48, 13 มิถุนายน 2556

หน้านี้เป็นการทดลอง javascript และ node.js ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิชา 01204435

เอกสารอ้างอิงประกอบการทำแลบสามารถเอกสารจาก หน้า JavaScript ของ Mozilla Developer Network ได้ โดยอาจจะดูในส่วนของ JavaScript Guide

javascript: การทดลองเกี่ยวกับ scope

scope ใน block และใน function

ตำแหน่งในการประกาศ

ในการทดลองต่อไป ให้สร้างไฟล์นามสกุล js และเรียกให้ทำงานจาก command line (ไม่ใช่ทยอยป้อนใน javascript console)

พิจารณาโปรแกรมสองโปรแกรมต่อไปนี้

var a = x;
var x = 10;
console.log(x);
console.log(a);
var a = x;
console.log(a);

จากผลการทดลอง ให้อธิบายขอบเขตของตัวแปร x ในตัวอย่างแรก

javascript: functions 1

ใน javascript มีวิธีการประกาศ function ได้หลายแบบ สองรูปแบบหลัก ๆ ที่เห็นมีดังตัวอย่างด้านล่าง แบบแรกคือประกาศฟังก์ชัน a เลย

function a() {
  return 10;
}

และอีกแบบคือการประกาศฟังก์ชัน โดยไม่ระบุชื่อ จากนั้นค่อยนำไปกำหนดค่าให้กับตัวแปรที่แทนฟังก์ชันนั้น

var b = function() { 
  return 20; 
};

ในการใช้งานทั่วไป เราจะไม่ค่อยพบความแตกต่างมาก แต่ให้พิจารณาตัวอย่างด้านล่างนี้

javascript: objects

node.js: event-driven i/o