ผลต่างระหว่างรุ่นของ "01204223 การปฏิบัติการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 113: แถว 113:
 
=== สัปดาห์ที่ 8 การสื่อสารผ่านพอร์ท USB ===
 
=== สัปดาห์ที่ 8 การสื่อสารผ่านพอร์ท USB ===
 
* ''<span style="color:red;">ผู้ทีใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว</span>'' ขอให้ติดตั้งซอฟต์แวร์เหล่านี้มาก่อนล่วงหน้า
 
* ''<span style="color:red;">ผู้ทีใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว</span>'' ขอให้ติดตั้งซอฟต์แวร์เหล่านี้มาก่อนล่วงหน้า
** Anaconda Scientific Python Distribution - ดูขั้นตอนจากวิกิ [[Python Programming/Setting Up Python]]
+
** '''Anaconda Scientific Python Distribution''' - ดูขั้นตอนจากวิกิ [[Python Programming/Setting Up Python]]
** ไลบรารี PyUSB - ดูขั้นตอนจากวิกิ [[การติดตั้งไลบรารี PyUSB]]
+
** '''ไลบรารี PyUSB''' - ดูขั้นตอนจากวิกิ [[การติดตั้งไลบรารี PyUSB]]
** ไลบรารี Visual - ดูขั้นตอนจากวิกิ [[การติดตั้งไลบรารี Visual]]
+
** '''ไลบรารี Visual''' - ดูขั้นตอนจากวิกิ [[การติดตั้งไลบรารี Visual]]
 
* หัวข้อ: การติดต่อกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านพอร์ท USB
 
* หัวข้อ: การติดต่อกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านพอร์ท USB
 
*# ศึกษาวิกิ [[การติดต่อกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านพอร์ท USB ด้วย Arduino]] มาก่อนล่วงหน้า
 
*# ศึกษาวิกิ [[การติดต่อกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านพอร์ท USB ด้วย Arduino]] มาก่อนล่วงหน้า

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:56, 10 ตุลาคม 2558

หน้านี้รวบรวมลิงก์ของเอกสารและวิดีโอประกอบการเรียนวิชาการ 01204223 ปฏิบัติการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Practicum for Computer Engineering) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาคต้น ปีการศึกษา 2558

ประกาศ

เนื้อหาและปฏิบัติการ

สัปดาห์ที่ 1 ระบบยูนิกซ์ เทอร์มินัล และเชลล์

สัปดาห์ที่ 2 รีไดเรคชันและไปป์

สัปดาห์ที่ 3 การบัดกรีวงจร

สัปดาห์ที่ 4 การพัฒนาเฟิร์มแวร์และการออกแบบวงจร

สัปดาห์ที่ 5 แผงวงจรพ่วงและเอาท์พุทแบบดิจิทัล

  • หัวข้อ: การบัดกรีแผงวงจรพ่วงและทำสายแพ
    • ห้องเรียน: 606
    1. ศึกษาวิธีการใช้งานออสซิลโลสโคปและการทำสายแพจากวีดีทัศน์
    2. บัดกรีแผงวงจรพ่วงและทำสายแพคนละหนึ่งเส้น
    3. ตรวจสอบความถูกต้องของแผงวงจรพ่วง ตามวีดีทัศน์ การตรวจเช็คแผงวงจรพ่วง (มี 4 ตอน)
    4. ส่งงานโดยการสาธิตความถูกต้องผ่านชุดทดลองดิจิทัลและออสซิลโลสโคป
  • หัวข้อ: การควบคุมเอาท์พุทแบบดิจิทัล
    • ห้องเรียน: 603
    1. เตรียมสภาพแวดล้อมในการพัฒนาเฟิร์มแวร์ด้วย Arduino IDE โดยทำตามขั้นตอนในวิกิ การพัฒนาเฟิร์มแวร์ด้วย Arduino IDE
    2. ฟังบรรยายเรื่องแผงวงจรพ่วงและการแสดงเอาท์พุทแบบดิจิทัลด้วย LED
    3. ส่งงาน "ไฟวิ่งสามสี" ตามตัวอย่าง

สัปดาห์ที่ 6 พอร์ทอนุกรมและการรับอินพุท

สัปดาห์ที่ 7 ภาษาไพทอนเบื้องต้น

สัปดาห์ที่ 8 การสื่อสารผ่านพอร์ท USB

รวบรวมลิ้งค์สำหรับเอกสารและสื่อการสอน

วิกิ

สไลด์บรรยาย

วีดีทัศน์

ชีตแล็บ

เอกสารและไฟล์อื่น ๆ

ลิ้งค์อื่น ๆ