ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Robot contest 58"
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
− | : ''เอกสารนี้เป็นเอกสารฉบับร่าง'' | + | : ''เอกสารนี้เป็นเอกสารฉบับร่าง กรุณาอย่าเผยแพร่ต่อ'' |
'''โครงการแข่งขันพัฒนาหุ่นยนต์ร่วมมือทำงาน''' | '''โครงการแข่งขันพัฒนาหุ่นยนต์ร่วมมือทำงาน''' | ||
− | การพัฒนาหุ่นยนต์เป็นงานด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่ต้องใช้ความรู้จากหลากหลายแขนง ทั้งในด้านไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์และการควบคุมฮาร์ดแวร์ ด้านกลศาสตร์ และความรู้และความชำนาญด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ | + | การพัฒนาหุ่นยนต์เป็นงานด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่ต้องใช้ความรู้จากหลากหลายแขนง ทั้งในด้านไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์และการควบคุมฮาร์ดแวร์ ด้านกลศาสตร์ และความรู้และความชำนาญด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ ด้วยเหตุนี้ ภายในประเทศจึงมีหน่วยงานหลายหน่วยงานที่ดำเนินการจัดการแข่งขันพัฒนาหุ่นยนต์ขึ้นมาในหลายรูปแบบและหลายระดับ อย่างไรก็ตาม ความต้องการนำหุ่นยนต์ไปประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ เช่น ในการกู้ภัย การรักษาความปลอดภัย หรือในด้านการให้บริการที่ซ้บซ้อน ทำให้เกิดปัญหาใหม่ ๆ ที่น่าสนใจและท้าทายในการพัฒนาและออกแบบระบบหุ่นยนต์อัตโนมัติอย่างมากมาย เช่น การพัฒนาระบบให้หุ่นยนต์ทำงานร่วมกัน การใช้งานระบบการสื่อสารไร้สาย และการใช้อุปการณ์ตรวจวัดหรือเซ็นเซอร์ในรูปแบบต่าง ๆ |
+ | |||
+ | ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ต้องการส่งเสริมให้เกิดความสนใจในสาขาที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศและสังคมนี้ จึงได้จัดการแข่งขันพัฒนาหุ่นยนต์ขึ้นระหว่างงานบนเส้นทางวิศวกรรมประจำปี 2558 นี้ โดยมีการออกแบบเงื่อนไขให้มีการพัฒนาหุ่นยนต์ที่ทำงานร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาตามที่ระบุ นอกจากผู้เข้าแข่งขันจะได้ฝึกหัดพัฒนาซอฟต์แวร์และปรับแต่งหุ่นยนต์แล้ว จะยังได้ประสบการณ์ในการคิดและวางแผนให้หุ่นยนต์ทำงานร่วมกันผ่านทางการสื่อสารไร้สายอีกด้วย | ||
== วัตถุประสงค์ == | == วัตถุประสงค์ == | ||
+ | |||
+ | 1. เพื่อ | ||
== รูปแบบการแข่งขัน == | == รูปแบบการแข่งขัน == | ||
แถว 12: | แถว 16: | ||
== กติกาการแข่งขัน == | == กติกาการแข่งขัน == | ||
+ | |||
+ | == รางวัล == | ||
== การสมัครเข้าแข่งขัน == | == การสมัครเข้าแข่งขัน == |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:38, 17 ตุลาคม 2558
- เอกสารนี้เป็นเอกสารฉบับร่าง กรุณาอย่าเผยแพร่ต่อ
โครงการแข่งขันพัฒนาหุ่นยนต์ร่วมมือทำงาน
การพัฒนาหุ่นยนต์เป็นงานด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่ต้องใช้ความรู้จากหลากหลายแขนง ทั้งในด้านไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์และการควบคุมฮาร์ดแวร์ ด้านกลศาสตร์ และความรู้และความชำนาญด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ ด้วยเหตุนี้ ภายในประเทศจึงมีหน่วยงานหลายหน่วยงานที่ดำเนินการจัดการแข่งขันพัฒนาหุ่นยนต์ขึ้นมาในหลายรูปแบบและหลายระดับ อย่างไรก็ตาม ความต้องการนำหุ่นยนต์ไปประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ เช่น ในการกู้ภัย การรักษาความปลอดภัย หรือในด้านการให้บริการที่ซ้บซ้อน ทำให้เกิดปัญหาใหม่ ๆ ที่น่าสนใจและท้าทายในการพัฒนาและออกแบบระบบหุ่นยนต์อัตโนมัติอย่างมากมาย เช่น การพัฒนาระบบให้หุ่นยนต์ทำงานร่วมกัน การใช้งานระบบการสื่อสารไร้สาย และการใช้อุปการณ์ตรวจวัดหรือเซ็นเซอร์ในรูปแบบต่าง ๆ
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ต้องการส่งเสริมให้เกิดความสนใจในสาขาที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศและสังคมนี้ จึงได้จัดการแข่งขันพัฒนาหุ่นยนต์ขึ้นระหว่างงานบนเส้นทางวิศวกรรมประจำปี 2558 นี้ โดยมีการออกแบบเงื่อนไขให้มีการพัฒนาหุ่นยนต์ที่ทำงานร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาตามที่ระบุ นอกจากผู้เข้าแข่งขันจะได้ฝึกหัดพัฒนาซอฟต์แวร์และปรับแต่งหุ่นยนต์แล้ว จะยังได้ประสบการณ์ในการคิดและวางแผนให้หุ่นยนต์ทำงานร่วมกันผ่านทางการสื่อสารไร้สายอีกด้วย
เนื้อหา
วัตถุประสงค์
1. เพื่อ