ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Chaiporn (คุย | มีส่วนร่วม) |
Chaiporn (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 8: | แถว 8: | ||
== วงจรวัดแสง == | == วงจรวัดแสง == | ||
+ | |||
+ | == โปรแกรมทดสอบแผงวงจรพ่วง == | ||
+ | เพื่อตรวจสอบว่าแผงวงจรพ่วงที่ทำขึ้นมาใช้งานได้ถูกต้อง โหลดโปรแกรม [http://garnet.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/testperi.hex testperi.hex] และใช้คำสั่ง avrdude เพื่อเขียนแฟลชบนบอร์ด หากวงจรไม่มีความผิดพลาด โปรแกรมควรมีพฤติกรรมดังนี้ | ||
+ | * LED 3 ดวงบนบอร์ดพ่วงทำหน้าที่เป็นตัววัดแสง โดยจะติดทีละดวงเท่านั้น สีแดงจะติดเมื่อแสงมืด และสีเขียวจะติดเมื่อไฟสว่าง ส่วนสีเหลืองจะติดเมื่อแสงปานกลาง | ||
+ | * เมื่อกดและปล่อยสวิตช์บนบอร์ดพ่วง (ไม่ใช่สวิตช์รีเซ็ตบนบอร์ดหลัก) LED สีเขียวบนบอร์ดหลักจะติดและดับสลับกันไป |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:14, 17 สิงหาคม 2552
เราประกอบแผงวงจรนี้เพื่อใช้เป็นวงจรทดสอบและเรียนรู้การใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ โดยต่อผ่านสายแพเข้ากับ JP2 (พอร์ท C) ของแผงวงจรหลัก วงจรพ่วงประกอบไปด้วยวงจรย่อยสามวงจร ได้แก่ (1) วงจรแสดงผล LED สามสี (2) วงจรสวิตช์อินพุท และ (3) วงจรวัดแสง
วงจรแสดงผล LED สามสี
วงจรสวิตช์อินพุท
วงจรวัดแสง
โปรแกรมทดสอบแผงวงจรพ่วง
เพื่อตรวจสอบว่าแผงวงจรพ่วงที่ทำขึ้นมาใช้งานได้ถูกต้อง โหลดโปรแกรม testperi.hex และใช้คำสั่ง avrdude เพื่อเขียนแฟลชบนบอร์ด หากวงจรไม่มีความผิดพลาด โปรแกรมควรมีพฤติกรรมดังนี้
- LED 3 ดวงบนบอร์ดพ่วงทำหน้าที่เป็นตัววัดแสง โดยจะติดทีละดวงเท่านั้น สีแดงจะติดเมื่อแสงมืด และสีเขียวจะติดเมื่อไฟสว่าง ส่วนสีเหลืองจะติดเมื่อแสงปานกลาง
- เมื่อกดและปล่อยสวิตช์บนบอร์ดพ่วง (ไม่ใช่สวิตช์รีเซ็ตบนบอร์ดหลัก) LED สีเขียวบนบอร์ดหลักจะติดและดับสลับกันไป