ผลต่างระหว่างรุ่นของ "01204472 ภาคต้น 2555"
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 23: | แถว 23: | ||
** [http://en.wikipedia.org/wiki/Vector_space_model Vector space model] (จาก วิกิพีเดีย) | ** [http://en.wikipedia.org/wiki/Vector_space_model Vector space model] (จาก วิกิพีเดีย) | ||
** [[01204472/perceptron algorithm|The Perceptron Algorithm]] | ** [[01204472/perceptron algorithm|The Perceptron Algorithm]] | ||
+ | * '''21 มิ.ย.''' ทดลองเกี่ยวกับเวกเตอร์ | ||
=== เนื้อหาเชิงทฤษฎีโดยรวม === | === เนื้อหาเชิงทฤษฎีโดยรวม === |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:38, 19 มิถุนายน 2555
การคำนวณเชิงตัวเลข เป็นหนึ่งในการประยุกต์ใช้งานหลักของคอมพิวเตอร์ การคำนวณเชิงตัวเลขมีขอบเขตในการประยุกต์ใช้ที่กว้างขวาง (ดูรายการด้านล่าง) ในวิชานี้ เราจะศึกษาทฤษฎีและอัลกอริทึมเกี่ยวกับเวกเตอร์และเมตริกซ์ ซึ่งนอกจากจะเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจเทคนิคต่าง ๆ เกี่ยวกับการคำนวณเชิงตัวเลขแล้ว เนื้อหาในส่วนนี้ยังเกี่ยวข้องโดยตรงกับการประยุกต์ใช้งานในด้านต่าง ๆ รวมทั้งอัลกอริทึมสำหรับการหาค่าที่ดีที่สุดซึ่งเราจะได้ศึกษาทฤษฎีและอัลกอริทึมในวิชานี้
นอกจากนี้เรายังจะสัมผัสเนื้อหามาตรฐานของรายวิชาการคำนวณเชิงตัวเลข เช่น การหาค่าประมาณการ การหาอนุพันธ์ การอินทิเกรตเชิงตัวเลข การเข้าสมการอนุพันธ์ และการปรับหาเส้นโค้งที่เหมาะสม
ในหัวข้อต่าง ๆ เราจะศึกษาทั้งทฤษฎีและการนำไปประยุกต์ใช้
ติดต่อสื่อสาร: Group 01204472/55 Numerical Computation บน facebook
เนื้อหา
การวัดผล
- การบ้าน 20%
- สอบกลางภาค 20% สอบปลายภาค 20%
- โครงงานเล็ก 2 โครงงาน โครงงานละ 20%
หัวข้อ
เนื้อหาแต่ละสัปดาห์จะโพสที่นี่ อย่างไรก็ตาม ถ้าต้องการดูภาพรวมของเนื้อหาในรายวิชากรุณาดูได้ที่หัวข้อเนื้อหาเชิงทฤษฎีโดยรวม
หัวข้อละเอียด
- 12 มิ.ย. แนะนำเนื้อหาและแนวคิดพื้นฐานผ่านทางปัญหาการวาดกราฟ (graph drawing) ด้วยสปริงโมเดล
- 14 มิ.ย. ทดลองเกี่ยวกับขีดจำกัดของการคำนวณด้วยจำนวนจริงบนคอมพิวเตอร์ รายละเอียดการทดลอง
- 19 มิ.ย. Vectors (ใช้ Lecture 1 จากเว็บวิชา EE103)
- Vector space model (จาก วิกิพีเดีย)
- The Perceptron Algorithm
- 21 มิ.ย. ทดลองเกี่ยวกับเวกเตอร์
เนื้อหาเชิงทฤษฎีโดยรวม
ถึงแม้วิชานี้จะเน้นการปฏิบัติ แต่เนื้อหาทางทฤษฎีหลายอย่างก็ยังจำเป็นมาก
- Introductory concepts (approximation errors, Taylor's theorem, computer arithemetic)
- Matrix theory (vectors, matrics, linear equations) (เนื้อหาจาก UCLA EE103)
- Matrix algorithms (Choleskey factorization, LU factorization, Least square problems, QR fatorization) (เนื้อหาจาก UCLA EE103)
- Nonlinear equations and optimization (เนื้อหาจาก UCLA EE103)
ซอฟต์แวร์
รายการการประยุกต์ใช้
- ทฤษฎีเมตริกซ์
- Machine learning / AI: ใช้เพื่อโมเดลเอกสารและแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอกสาร (Vector space model), เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับ eigenvalue เช่น SVD และ PCA, Collaborative filtering
- การหาค่าที่ดีที่สุด
- Machine learning / AI: ใช้ในการเทรนเครื่องจักรการเรียนรู้ เช่น neural networks หรือ Support vector machine
- Computer graphics: การประยุกต์ใช้การหาค่าที่ดีที่สุดในปัญหาต่าง ๆ ดูตัวอย่างจากรายวิชาต่อไปนี้: Generating Natural Human Motion Physically Based Character Animation หรือเรื่องของ optimization based synthesis
- หุ่นยนต์
- เครือข่ายคอมพิวเตอร์