ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การติดตั้ง Cafe grader"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 28: แถว 28:
  
 
จะสามารถเข้าใช้ได้ที่พอร์ต 3000 ของเครื่อง
 
จะสามารถเข้าใช้ได้ที่พอร์ต 3000 ของเครื่อง
 +
 +
=== การติดตั้ง web interface บน apache ด้วย passenger ===
  
 
=== การติดตั้ง nodejs บน debian ===
 
=== การติดตั้ง nodejs บน debian ===
 
: จะเพิ่มต่อไป
 
: จะเพิ่มต่อไป
 
=== การติดตั้ง web interface บน apache ด้วย passenger ===
 
  
  

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:19, 12 ตุลาคม 2555

ข่าวการอัพเดท

  • ขณะนี้ทีมงานกำลังปรับปรุง cafe grader ให้ทำงานบน Rails 3 เพื่อทำให้ระบบสามารถติดตั้งได้สะดวกขึ้น
  • เนื่องจาก gitorious มีปัญหาบ่อย ทางทีมงานจึงได้ย้ายโค้ดของ cafe grader ไว้ที่ github แล้ว

การติดตั้ง Cafe Grader ด้วย scripts สำหรับ debian/ubuntu

จะเพิ่มรายละเอียดแบบละเอียดกว่านี้ต่อไป

สคริปต์ติดตั้งอัตโนมัติสำหรับระบบที่เป็น debian/ubuntu อยู่ที่ github

สามารถเรียกใช้ได้โดย cd ไปที่ home directory ของ user ที่ sudo ได้ จากนั้นสั่ง

wget https://raw.github.com/jittat/cafe-grader-judge-scripts/master/installer/install.sh

จะโหลดสคริปต์มาชื่อ install.sh

จากนั้นเรียกสคริปต์โดยสั่ง

source install.sh

สคริปต์จะดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ละติดตั้งทุกอย่าง สคริปต์จะถามให้เราสร้าง database บน MySQL แล้วป้อน database name, username ของ MySQL และ password ของ user ดังกล่าว และจะเซ็ตทุกอย่างให้โดยอัตโนมัติ

ระบบจะติดตั้ง cafe grader และ Ruby 1.9.2 ภายใต้ระบบ rvm

เมื่อสคริปต์ทำงานเสร็จ สามารถทดลองใช้ได้โดยสั่ง

cd cafe_grader/web
rvm use 1.9.2
rails s

จะสามารถเข้าใช้ได้ที่พอร์ต 3000 ของเครื่อง

การติดตั้ง web interface บน apache ด้วย passenger

การติดตั้ง nodejs บน debian

จะเพิ่มต่อไป


การติดตั้งแบบ manual

ขณะนี้ไม่แนะนำการติดตั้งด้วยวิธีดังกล่าว สำหรับวิธีการติดตั้งแบบ manual เดิม ซึ่งไม่สามารถใช้ได้แล้ว สามารถดูได้ที่การติดตั้ง Cafe grader/กรุ