ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418441 ภาคปลาย 2550"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 28: แถว 28:
  
 
== ลิงก์ภายนอก ==
 
== ลิงก์ภายนอก ==
* [http://www.lopsa.org/ LOPSA]
+
* [https://graphics.stanford.edu/wikis/cs348b-06 Stanford's Image Synthesis Techniques]
* [http://www.sage.org SAGE]
 
* [http://www.usenix.org/events/lisa07/ LISA Conference]
 

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:37, 28 ตุลาคม 2550

หน้านี้เป็นหน้าของวิชา 418441 คอมพิืวเตอร์กราฟิกส์

ประกาศ

  • 28 ตุลาคม 2550: ขอต้อนรับเข้าสู่วิชา

แผนการเรียนการสอน

กำลังเขียนอยู่

เอกสารประกอบการเรียน

ยังไม่มี

ข้อมูลทั่วไป

  • เวลา: อังคาร 11:00 - 12:30, พฤหัส 16:00 - 17:30
  • ผู้สอน: ประมุข ขันเงิน
  • ไม่มีหนังสือประกอบการเรียน

รายละเอียด

วิชานี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับเทคนิคการสร้างรูปภาพในคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ โดยเน้นเรื่องเทคนิค ray tracing หัวข้อที่ครอบคลุม ได้แก่ การสร้างแบบจำลองเรขาคณิต, การแปลงทางเรขาคณิต, ray casting, การให้สี, Whitted ray tracing, การใช้ texture, การทำ anti-aliasing, และอัลกอริทึมสำหรับทำ global illumination ต่างๆ อาทิ ambient occlusion, radiosity, path tracing, irradiance caching, และ photon mapping.

การให้คะแนน

คำเตือน: เกณฑ์การให้คะแนนนี้ยังไม่เป็นที่สิ้นสุด อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ในอนาคต
  • การบ้าน (60%)
    • Ray Caster (15%)
    • Whitted Ray Tracer (15%)
    • Texture and Anti-aliasing (10%)
    • Distributed Ray Tracing (20%)
  • สอบกลางภาค (20%)
  • สอบปลายภาค (20%)

ลิงก์ภายนอก