ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Python Programming/Tuples"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
Cardcaptor (คุย | มีส่วนร่วม) |
Cardcaptor (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 1: | แถว 1: | ||
Tuple เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ทำหน้าที่คล้ายกับอะเรย์ขนาดคงที่ แต่มันมีสมบัติที่สำคัญประการหนึ่งคือเราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสมาชิกของ tuple หลังจากสร้างมันเสร็จแล้วได้ (ภาษาฝรั่งเรียกโครงสร้างข้อมูลประเภทนี้ว่า immutable data structure) | Tuple เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ทำหน้าที่คล้ายกับอะเรย์ขนาดคงที่ แต่มันมีสมบัติที่สำคัญประการหนึ่งคือเราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสมาชิกของ tuple หลังจากสร้างมันเสร็จแล้วได้ (ภาษาฝรั่งเรียกโครงสร้างข้อมูลประเภทนี้ว่า immutable data structure) | ||
+ | เราสามารถสร้าง tuple ได้โดยการนำค่าหลายๆ ค่ามาเรียงต่อกัน แล้วคั่นค่าที่ติดกันด้วยเครื่องหมายคอมมา (,) | ||
+ | <pre title="interpreter"> | ||
+ | >>> t = 42, "Misaka Mikoto", "tsunderailgun", 4649.398 | ||
+ | >>> print t | ||
+ | (42, 'Misaka Mikoto', 'tsunderailgun', 4649.3980000000001) | ||
+ | </pre> | ||
+ | |||
+ | เราสามารถเรียกสมาชิกแต่ละตัวของ tuple มาใช้ได้เหมือนกับการเรียกดูสมาชิกของอะเรย์ในภาษา C | ||
+ | <pre title="interpreter"> | ||
+ | >>> t[0] | ||
+ | 42 | ||
+ | >>> t[1] | ||
+ | 'Misaka Mikoto' | ||
+ | >>> t[2] | ||
+ | 'tsunderailgun' | ||
+ | >>> t[3] | ||
+ | 4649.3980000000001 | ||
+ | </pre> | ||
+ | |||
+ | นอกจากนี้ในภาษาไพทอน เลขที่เราใช้เป็นดรรชนีบ่งตำแหน่งของสมาชิกใน tuple จะเป็นเลขลบก็ได้ โดยที่ <tt>t[-k]</tt> จะหมายถึงสมาชิกที่เริ่มนับจากด้านหลังของ t ไปเป็นตัวที่ k | ||
+ | <pre title="interpreter"> | ||
+ | >>> t[-1] | ||
+ | 4649.3980000000001 | ||
+ | >>> t[-2] | ||
+ | 'tsunderailgun' | ||
+ | >>> t[-3] | ||
+ | 'Misaka Mikoto' | ||
+ | >>> t[-4] | ||
+ | 42 | ||
+ | </pre> | ||
{{Python Programming/Navigation|If Statements|Lists}} | {{Python Programming/Navigation|If Statements|Lists}} |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:11, 17 ตุลาคม 2551
Tuple เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ทำหน้าที่คล้ายกับอะเรย์ขนาดคงที่ แต่มันมีสมบัติที่สำคัญประการหนึ่งคือเราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสมาชิกของ tuple หลังจากสร้างมันเสร็จแล้วได้ (ภาษาฝรั่งเรียกโครงสร้างข้อมูลประเภทนี้ว่า immutable data structure)
เราสามารถสร้าง tuple ได้โดยการนำค่าหลายๆ ค่ามาเรียงต่อกัน แล้วคั่นค่าที่ติดกันด้วยเครื่องหมายคอมมา (,)
>>> t = 42, "Misaka Mikoto", "tsunderailgun", 4649.398 >>> print t (42, 'Misaka Mikoto', 'tsunderailgun', 4649.3980000000001)
เราสามารถเรียกสมาชิกแต่ละตัวของ tuple มาใช้ได้เหมือนกับการเรียกดูสมาชิกของอะเรย์ในภาษา C
>>> t[0] 42 >>> t[1] 'Misaka Mikoto' >>> t[2] 'tsunderailgun' >>> t[3] 4649.3980000000001
นอกจากนี้ในภาษาไพทอน เลขที่เราใช้เป็นดรรชนีบ่งตำแหน่งของสมาชิกใน tuple จะเป็นเลขลบก็ได้ โดยที่ t[-k] จะหมายถึงสมาชิกที่เริ่มนับจากด้านหลังของ t ไปเป็นตัวที่ k
>>> t[-1] 4649.3980000000001 >>> t[-2] 'tsunderailgun' >>> t[-3] 'Misaka Mikoto' >>> t[-4] 42
หน้าก่อน: If Statements | สารบัญ | หน้าต่อไป: Lists |