ผลต่างระหว่างรุ่นของ "01204223 การปฏิบัติการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 132: แถว 132:
 
*#* [http://vpython.org/contents/docs/index.html เว็บเอกสารอธิบาย VPython]
 
*#* [http://vpython.org/contents/docs/index.html เว็บเอกสารอธิบาย VPython]
 
*# <u>ส่งงาน</u> แก้ไขสคริปต์เพื่อเพิ่มฟีเจอร์ให้เกม
 
*# <u>ส่งงาน</u> แก้ไขสคริปต์เพื่อเพิ่มฟีเจอร์ให้เกม
*#* เพิ่มความเร็วลูกตะกร้อขึ้น 20% ทุกครั้งที่ผู้เล่นรับได้ โดยกำหนดความเร็วสูงสุดในแนวดิ่งไว้ที่ 20 หน่วยต่อวินาที
+
*#* เพิ่มความเร็วลูกตะกร้อแนวดิ่งขึ้น 20% ทุกครั้งที่ผู้เล่นรับได้ โดยกำหนดความเร็วสูงสุดในแนวดิ่งไว้ที่ 20 หน่วยต่อวินาที
 
*#* เพิ่มลูกตะกร้อหนึ่งลูกทุกครั้งที่ผู้เล่นเดาะได้หนึ่งครั้ง โดยสุ่มสี ความเร็วต้น และความเร่ง ให้กับตะกร้อลูกใหม่ (คำแนะนำ: ใช้ฟังก์ชันสุ่มเวกเตอร์ในโมดูล [http://docs.scipy.org/doc/numpy/reference/routines.random.html numpy.random] และดูตัวอย่างโค้ดจากสคริปต์ [https://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/media/balls.py balls.py])
 
*#* เพิ่มลูกตะกร้อหนึ่งลูกทุกครั้งที่ผู้เล่นเดาะได้หนึ่งครั้ง โดยสุ่มสี ความเร็วต้น และความเร่ง ให้กับตะกร้อลูกใหม่ (คำแนะนำ: ใช้ฟังก์ชันสุ่มเวกเตอร์ในโมดูล [http://docs.scipy.org/doc/numpy/reference/routines.random.html numpy.random] และดูตัวอย่างโค้ดจากสคริปต์ [https://www.cpe.ku.ac.th/~cpj/204223/media/balls.py balls.py])
 
*#* จบเกมเมื่อลูกตะกร้อทั้งหมดหายไปจากหน้าจอ
 
*#* จบเกมเมื่อลูกตะกร้อทั้งหมดหายไปจากหน้าจอ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:11, 19 ตุลาคม 2558

หน้านี้รวบรวมลิงก์ของเอกสารและวิดีโอประกอบการเรียนวิชาการ 01204223 ปฏิบัติการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Practicum for Computer Engineering) ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาคต้น ปีการศึกษา 2558

ประกาศ

เนื้อหาและปฏิบัติการ

สัปดาห์ที่ 1 ระบบยูนิกซ์ เทอร์มินัล และเชลล์

สัปดาห์ที่ 2 รีไดเรคชันและไปป์

สัปดาห์ที่ 3 การบัดกรีวงจร

สัปดาห์ที่ 4 การพัฒนาเฟิร์มแวร์และการออกแบบวงจร

สัปดาห์ที่ 5 แผงวงจรพ่วงและเอาท์พุทแบบดิจิทัล

  • หัวข้อ: การบัดกรีแผงวงจรพ่วงและทำสายแพ
    • ห้องเรียน: 606
    1. ศึกษาวิธีการใช้งานออสซิลโลสโคปและการทำสายแพจากวีดีทัศน์
    2. บัดกรีแผงวงจรพ่วงและทำสายแพคนละหนึ่งเส้น
    3. ตรวจสอบความถูกต้องของแผงวงจรพ่วง ตามวีดีทัศน์ การตรวจเช็คแผงวงจรพ่วง (มี 4 ตอน)
    4. ส่งงานโดยการสาธิตความถูกต้องผ่านชุดทดลองดิจิทัลและออสซิลโลสโคป
  • หัวข้อ: การควบคุมเอาท์พุทแบบดิจิทัล
    • ห้องเรียน: 603
    1. เตรียมสภาพแวดล้อมในการพัฒนาเฟิร์มแวร์ด้วย Arduino IDE โดยทำตามขั้นตอนในวิกิ การพัฒนาเฟิร์มแวร์ด้วย Arduino IDE
    2. ฟังบรรยายเรื่องแผงวงจรพ่วงและการแสดงเอาท์พุทแบบดิจิทัลด้วย LED
    3. ส่งงาน "ไฟวิ่งสามสี" ตามตัวอย่าง

สัปดาห์ที่ 6 พอร์ทอนุกรมและการรับอินพุท

สัปดาห์ที่ 7 ภาษาไพทอนเบื้องต้น

สัปดาห์ที่ 8 การสื่อสารผ่านพอร์ท USB

สัปดาห์ที่ 9 การสร้างแอนิเมชันและเกมสามมิติด้วย VPython

  • ผู้ทีใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว ให้ติดตั้งซอฟต์แวร์เหล่านี้มาก่อนล่วงหน้า
  • หัวข้อ: การสร้างเกมด้วย VPython
    1. ศึกษาวิกิ จำลองการเคลื่อนที่ด้วยคณิตศาสตร์แบบเวกเตอร์ใน VPython
    2. ปฏบัติตามขั้นตอนในวิกิ สร้างเกมเดาะตะกร้อด้วย VPython
    3. ส่งงาน แก้ไขสคริปต์เพื่อเพิ่มฟีเจอร์ให้เกม
      • เพิ่มความเร็วลูกตะกร้อแนวดิ่งขึ้น 20% ทุกครั้งที่ผู้เล่นรับได้ โดยกำหนดความเร็วสูงสุดในแนวดิ่งไว้ที่ 20 หน่วยต่อวินาที
      • เพิ่มลูกตะกร้อหนึ่งลูกทุกครั้งที่ผู้เล่นเดาะได้หนึ่งครั้ง โดยสุ่มสี ความเร็วต้น และความเร่ง ให้กับตะกร้อลูกใหม่ (คำแนะนำ: ใช้ฟังก์ชันสุ่มเวกเตอร์ในโมดูล numpy.random และดูตัวอย่างโค้ดจากสคริปต์ balls.py)
      • จบเกมเมื่อลูกตะกร้อทั้งหมดหายไปจากหน้าจอ
      หมายเหตุ: อ็อบเจ็กต์แทนลูกตะกร้อที่ตกขอบจอไปนั้นยังคงไม่หายไปจากหน่วยความจำ มีผลทำให้เกมใช้หน่วยความจำมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่จำเป็น หากต้องการให้อ็อบเจ็กต์ถูกลบออกจากหน่วยความจำให้ตั้งคุณสมบัติ visible ของอ็อบเจ็กต์เป็น False และกำจัดการอ้างอิงไปยังอ็อบเจ็กต์นี้โดยสิ้นเชิง (นั่นคืออ็อบเจ็กต์ต้องไม่ถูกอ้างถึงได้ด้วยตัวแปรใด ๆ หรือยังอยู่ในลิสต์ใด ๆ) ซึ่งไพทอนจะลบอ็อบเจ็กต์นี้ออกจากหน่วยความจำเองด้วยกลไก Garbage Collection ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่เว็บ Deleting an Object
      • คลิปวีดีโอแสดงตัวอย่างการทำงาน
Takro.png

รวบรวมลิ้งค์สำหรับเอกสารและสื่อการสอน

วิกิ

สไลด์บรรยาย

วีดีทัศน์

ชีตแล็บ

เอกสารและไฟล์อื่น ๆ

ลิ้งค์อื่น ๆ