ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Oop lab/gdx examples"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ': ''หน้านี้เป็นส่วนหนึ่งของ OOP lab'' เราจะดูโครงสร้า...')
 
แถว 10: แถว 10:
 
=== ทดลองรัน ===
 
=== ทดลองรัน ===
  
 +
==== แก้ gradle config ====
 
ให้ clone project มาในเครื่อง เลือกไดเร็กทอรีที่เหมาะสม แล้วสั่ง
 
ให้ clone project มาในเครื่อง เลือกไดเร็กทอรีที่เหมาะสม แล้วสั่ง
  
แถว 21: แถว 22:
  
 
* '''build.gradle''' ไล่ลบส่วนที่เขียนว่า project(":android") { ... }, project(":ios") {... }, และ project(":html") { ... }
 
* '''build.gradle''' ไล่ลบส่วนที่เขียนว่า project(":android") { ... }, project(":ios") {... }, และ project(":html") { ... }
 +
 +
==== import เข้า eclipse ====
 +
 +
เลือก Import > Gradle > Gradle Project
 +
 +
จากนั้นเลือก directory ที่เรา clone มา กดดูการนำเข้าและ build จนเสร็จ
 +
 +
==== ตั้งค่า config ตอนรัน ====
 +
 +
ถ้าเราสั่งรันเลย จะมีปัญหาว่าระบบจะหา asset ไม่เจอ ต้องไปตั้ง working directory เป็น android/assets เสียก่อน โดยดำเนินการดังนี้
 +
 +
เลือก Run > Run Configurations... > Java Application > เลือก DesktopLauncher ที่ต้องการ > เลือก tab Arguments > ส่วน Working directory
 +
 +
แล้วเลือก File Systems... จากนั้นเลือกไปที่ theplanethatcouldntflygood/android/assets
 +
 +
จัดเก็บและสั่งรัน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:21, 16 กันยายน 2559

หน้านี้เป็นส่วนหนึ่งของ OOP lab

เราจะดูโครงสร้างของเกมที่เขียนโดยใช้ไลบรารี GDX โดยพิจารณาจากสอง project

The plane

  • นี่เป็นเกม clone จาก Flappy bird
  • ลิงก์: github

ทดลองรัน

แก้ gradle config

ให้ clone project มาในเครื่อง เลือกไดเร็กทอรีที่เหมาะสม แล้วสั่ง

git clone https://github.com/badlogic/theplanethatcouldntflygood.git

เกมดังกล่าวถูกพัฒนาเพื่อให้ทำงานได้บน Android, iOS และบนเว็บ ในการคอมไพล์ (build) ถ้าจะสมบูรณ์ต้องมี Android SDK แต่เราจะสนใจเฉพาะ Desktop เท่านั้น ดังนั้นจะต้องไปแก้ config บางส่วนก่อน เนื่องจากเกมบน GDX จะ build ด้วย Gradle เราจะไปแก้ config ของ gradle ดังนี้

  • settings.gradle ลบ project อื่น ๆ ออก โดยตัดให้เหลือแค่ 'desktop' กับ 'core'
include 'desktop', 'core'
  • build.gradle ไล่ลบส่วนที่เขียนว่า project(":android") { ... }, project(":ios") {... }, และ project(":html") { ... }

import เข้า eclipse

เลือก Import > Gradle > Gradle Project

จากนั้นเลือก directory ที่เรา clone มา กดดูการนำเข้าและ build จนเสร็จ

ตั้งค่า config ตอนรัน

ถ้าเราสั่งรันเลย จะมีปัญหาว่าระบบจะหา asset ไม่เจอ ต้องไปตั้ง working directory เป็น android/assets เสียก่อน โดยดำเนินการดังนี้

เลือก Run > Run Configurations... > Java Application > เลือก DesktopLauncher ที่ต้องการ > เลือก tab Arguments > ส่วน Working directory

แล้วเลือก File Systems... จากนั้นเลือกไปที่ theplanethatcouldntflygood/android/assets

จัดเก็บและสั่งรัน