ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Oop lab/oop in python"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 1: แถว 1:
 
: ''หน้านี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา [[Oop lab]]
 
: ''หน้านี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา [[Oop lab]]
  
เราจะหัดเขียน OOP กันผ่านทางตัวอย่าง โดยเราจะเขียนโปรแกรมแสดงผลเป็นกราฟิกส์โดยใช้ไลบรารีชื่อ [https://pythonhosted.org/arcade/ Arcade]
+
เราจะหัดเขียน OOP กันผ่านทางตัวอย่าง โดยเราจะเขียนโปรแกรมแสดงผลเป็นกราฟิกส์โดยใช้ไลบรารีชื่อ [https://pythonhosted.org/arcade/ Arcade] ซึ่งต้องการ Python 3.6 เป็นอย่างน้อย
  
 
== ติดตั้ง Arcade ==
 
== ติดตั้ง Arcade ==
  
 
เราจะใช้ game library ชื่อ [https://pythonhosted.org/arcade/ arcade] ในการพัฒนาเกม
 
เราจะใช้ game library ชื่อ [https://pythonhosted.org/arcade/ arcade] ในการพัฒนาเกม
 +
 +
=== Python 3.6 ===
 +
 +
ทดลองเรียก
 +
 +
python --version
 +
 +
ถ้าระบบตอบว่าเป็นเวอร์ชั่นสูงกว่าหรือเท่ากับ 3.6 ก็ไปทำขั้นตอนการติดตั้ง pip ได้เลย ไม่เช่นนั้นให้ไปติดตั้ง Python 3.6 ตามวิธีต่อไปนี้
 +
 +
==== Windows ====
 +
 +
ให้ทำตามขั้นตอนในนี้ได้เลย [http://arcade.academy/installation_windows.html การติดตั้ง arcade]  อย่าลืมเลือกให้ลง python ใน path ด้วย
 +
 +
==== Ubuntu (รุ่นตั้งแต่ 16.10 ขึ้นไป) ====
 +
 +
สั่ง
 +
 +
sudo apt-get update
 +
sudo apt-get install python3.6
 +
 +
เวลาเรียกใช้ให้เรียก python3.6
 +
 +
==== Ubuntu เก่า ====
 +
 +
sudo add-apt-repository ppa:jonathonf/python-3.6
 +
sudo apt-get update
 +
sudo apt-get install python3.6
  
 
=== ติดตั้ง pip/pip3 ===
 
=== ติดตั้ง pip/pip3 ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:56, 31 สิงหาคม 2560

หน้านี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา Oop lab

เราจะหัดเขียน OOP กันผ่านทางตัวอย่าง โดยเราจะเขียนโปรแกรมแสดงผลเป็นกราฟิกส์โดยใช้ไลบรารีชื่อ Arcade ซึ่งต้องการ Python 3.6 เป็นอย่างน้อย

ติดตั้ง Arcade

เราจะใช้ game library ชื่อ arcade ในการพัฒนาเกม

Python 3.6

ทดลองเรียก

python --version

ถ้าระบบตอบว่าเป็นเวอร์ชั่นสูงกว่าหรือเท่ากับ 3.6 ก็ไปทำขั้นตอนการติดตั้ง pip ได้เลย ไม่เช่นนั้นให้ไปติดตั้ง Python 3.6 ตามวิธีต่อไปนี้

Windows

ให้ทำตามขั้นตอนในนี้ได้เลย การติดตั้ง arcade อย่าลืมเลือกให้ลง python ใน path ด้วย

Ubuntu (รุ่นตั้งแต่ 16.10 ขึ้นไป)

สั่ง

sudo apt-get update
sudo apt-get install python3.6

เวลาเรียกใช้ให้เรียก python3.6

Ubuntu เก่า

sudo add-apt-repository ppa:jonathonf/python-3.6
sudo apt-get update
sudo apt-get install python3.6

ติดตั้ง pip/pip3

pip เป็นโปรแกรมสำหรับติดตั้ง library บน Python ในระบบที่มี python3 พร้อม ๆ กับ python2 เราจะเรียก pip3 เพื่อให้ติดตั้ง library ลงในส่วนของ python3

ให้ลองเรียก

pip

หรือ

pip3

ถ้ามีโปรแกรมแล้วก็ข้ามส่วนติดตั้ง pip ได้เลย

1. ติดตั้ง pip บน Windows

pip จะมาพร้อมกับการติดตั้ง python ให้เลือก option ดังกล่าวด้วย ถ้าเปิด command แล้วเรียก pip ขึ้นก็แสดงว่าได้ติดตั้งเรียบร้อย ถ้าไม่มี ให้ลองติดตั้ง python3 อีกครั้ง และให้เลือก pip ในหน้า Optional Features ด้วย

2. ติดตั้ง pip3 บน Linux

ให้ติดตั้ง pip3 และโปรแกรมประกอบอื่น ๆ โดยสั่ง

sudo apt install -y python3-dev python3-pip libjpeg-dev zlib1g-dev

3. ติดตั้ง pip3 บน Mac

ถ้าติดตั้ง python3 แล้ว น่าจะมี pip3 มาแล้ว ทดลองเรียกดูใน terminal

บน Mac จะต้องติดตั้ง libjpg ด้วย ถ้ายังไม่มี ถ้าคุณมี homebrew อยู่แล้ว ให้สั่ง

brew install libjpeg

ถ้าไม่ได้ ให้ไปดาวน์โหลดและ install จาก [1] (เลือก libjpg)

ใช้ pip ติดตั้ง arcade

ถ้าในการติดตั้ง python เราได้ลง pip มาแล้ว เราจะสามารถติดตั้ง arcade ผ่านทาง pip ได้โดยสั่ง

sudo pip3 install arcade

ถ้าเป็น windows ให้สั่ง

pip install arcade

virtualenv

เราติดตั้ง arcade ลงใน library ของระบบเลย ซึ่งทำแบบนี้บ่อย ๆ อาจจะทำให้ library เละและตีกันได้ Python มีระบบสำหรับติดตั้ง library แยกกัน เรียกว่า virtualenv

ยังเขียนส่วนนี้ไม่เสร็จ: to do - how to install with virtualenv

ทดสอบการติดตั้ง

ให้ copy code ด้านล่างนี้ ในไฟล์ชื่อ cirtest.py แล้วทดลองรัน

import pyglet

window = pyglet.window.Window()

label = pyglet.text.Label('Hello, world',
                          font_name='Times New Roman',
                          font_size=36,
                          x=window.width//2, y=window.height//2,
                          anchor_x='center', anchor_y='center')

@window.event
def on_draw():
    window.clear()
    label.draw()


pyglet.app.run()