ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการวิเคราะห์เชิงการจัด/เฉลยข้อ 7"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'ให้ A เป็นเซตของคำตอบของอสมการ <math>x_1 + x_2 + x_3 \leq 11 \,</math> โดยท…')
 
แถว 1: แถว 1:
 
ให้ A เป็นเซตของคำตอบของอสมการ <math>x_1 + x_2 + x_3 \leq 11 \,</math> โดยที่ <math>x_i \geq 0 \,</math>
 
ให้ A เป็นเซตของคำตอบของอสมการ <math>x_1 + x_2 + x_3 \leq 11 \,</math> โดยที่ <math>x_i \geq 0 \,</math>
  
ให้ B เป็นเซตของคำตอบของสมการ <math>x_1 + x_2 + x_3 + x_4 = 11</math> โดยที่ <math>x_i \geq 0 \,</math>
+
ให้ B เป็นเซตของคำตอบของสมการ <math>x_1 + x_2 + x_3 + x_4 = 11 \,</math> โดยที่ <math>x_i \geq 0 \,</math>
  
 
นิยามฟังก์ชัน <math>f: A \rightarrow B \,</math> ดังต่อไปนี้ ถ้า <math>x_1 = a, x_2 = b, x_3 = c</math> เป็นคำตอบของสมการ <math>x_1 + x_2 + x_3 \leq 11\, </math> แล้ว เรานิยามให้ <math>f \,</math> ส่ง <math>x_1 = a, x_2 = b, x_3 = c \,</math> ไปยังคำตอบ <math>x_1 = a, x_2 = b, x_3 = c, x_4 = 11 - a - b - c</math> ของสมการ <math>x_1 + x_2 + x_3 + x_4 = 11</math> เราเห็นได้อย่างชัดเจนว่า f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและทั่วถึง
 
นิยามฟังก์ชัน <math>f: A \rightarrow B \,</math> ดังต่อไปนี้ ถ้า <math>x_1 = a, x_2 = b, x_3 = c</math> เป็นคำตอบของสมการ <math>x_1 + x_2 + x_3 \leq 11\, </math> แล้ว เรานิยามให้ <math>f \,</math> ส่ง <math>x_1 = a, x_2 = b, x_3 = c \,</math> ไปยังคำตอบ <math>x_1 = a, x_2 = b, x_3 = c, x_4 = 11 - a - b - c</math> ของสมการ <math>x_1 + x_2 + x_3 + x_4 = 11</math> เราเห็นได้อย่างชัดเจนว่า f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและทั่วถึง
  
 
ดังนั้น <math>|A| = |B| = {11+4-1 \choose 11} = 364\,</math>
 
ดังนั้น <math>|A| = |B| = {11+4-1 \choose 11} = 364\,</math>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:03, 30 กรกฎาคม 2552

ให้ A เป็นเซตของคำตอบของอสมการ โดยที่

ให้ B เป็นเซตของคำตอบของสมการ โดยที่

นิยามฟังก์ชัน ดังต่อไปนี้ ถ้า เป็นคำตอบของสมการ แล้ว เรานิยามให้ ส่ง ไปยังคำตอบ ของสมการ เราเห็นได้อย่างชัดเจนว่า f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและทั่วถึง

ดังนั้น