ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาความน่าจะเป็น I/เฉลยข้อ 7"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย '== ข้อย่อย 1 == == ข้อย่อย 2 ==')
 
แถว 2: แถว 2:
  
 
== ข้อย่อย 2 ==
 
== ข้อย่อย 2 ==
 +
พิจารณาสมาชิกของสับเซต X และ Y ไปพร้อม ๆ กันทีละตัว เนื่องจาก <math>X \subseteq Y</math> จะได้ว่า
 +
 +
ถ้าสมาชิกตัวที่ i ของ X (เมื่อ i มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง n) โยนเหรียญได้หัว สมาชิกตัวนี้ใน Y ก็ต้องได้หัวด้วย (สมาชิกตัวนี้อยู่ใน X แล้วต้องอยู่ใน Y ด้วย)
 +
 +
แต่ถ้าสมาชิกตัวที่ i ของ X โยนเหรียญได้ก้อย สมาชิกตัวนี้ใน Y อาจได้ก้อยหรือหัวก็ได้
 +
 +
ฉะนั้นอาจเขียนเหตุการณ์ที่ <math>X \subseteq Y</math> ด้วยวิธีการสร้างดังกล่าวได้เป็น 3 แบบ คือ
 +
 +
X: H  T  T
 +
 +
Y: H  T  H
 +
 +
ดังนั้น <math>Pr(X \subseteq Y)=\frac {3^n}{2^{2n}}</math>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:01, 3 สิงหาคม 2552

ข้อย่อย 1

ข้อย่อย 2

พิจารณาสมาชิกของสับเซต X และ Y ไปพร้อม ๆ กันทีละตัว เนื่องจาก จะได้ว่า

ถ้าสมาชิกตัวที่ i ของ X (เมื่อ i มีค่าตั้งแต่ 1 ถึง n) โยนเหรียญได้หัว สมาชิกตัวนี้ใน Y ก็ต้องได้หัวด้วย (สมาชิกตัวนี้อยู่ใน X แล้วต้องอยู่ใน Y ด้วย)

แต่ถ้าสมาชิกตัวที่ i ของ X โยนเหรียญได้ก้อย สมาชิกตัวนี้ใน Y อาจได้ก้อยหรือหัวก็ได้

ฉะนั้นอาจเขียนเหตุการณ์ที่ ด้วยวิธีการสร้างดังกล่าวได้เป็น 3 แบบ คือ

X: H T T

Y: H T H

ดังนั้น