ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418531 ภาคต้น 2552/โจทยปัญหาการค้นหาด้วยพละกำลังเยี่ยงควายถึก/เฉลยข้อ 4"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
แถว 10: แถว 10:
 
ตัวแปรทุกอย่างขออ้างอิงจากในห้องเรียน โดยที่ข้อนี้ให้ l = 2
 
ตัวแปรทุกอย่างขออ้างอิงจากในห้องเรียน โดยที่ข้อนี้ให้ l = 2
  
 +
<geshi lang="c">
 
COUNT(c,x)
 
COUNT(c,x)
 +
{
 +
    count <-- 0
 +
    if(c[0]+c[1]= x)
 +
          count <-- count + 1
 +
    return(count)
 +
}
 +
</geshi>
  
: count <-- 0
 
 
:if(c[0]+c[1]= x)
 
 
:: count <-- count + 1
 
 
:return(count)
 
  
 +
<geshi lang="c">
 
GENERARTE(m,l)
 
GENERARTE(m,l)
 
+
{
: if l = 0
+
    if l = 0
 
+
        return(COUNT(c,x))
:: return(COUNT(c,x))
+
    else{
 
+
        for c[l-1]=l to m
: else
+
            GENERATE(c[l-1]-1,l-1)
 
+
    }
:: for c[l-1]=l to m
+
}
 
+
</geshi>
::: GENERATE(c[l-1]-1,l-1)
 
  
 
== ข้อย่อย 2 ==
 
== ข้อย่อย 2 ==
แถว 38: แถว 39:
 
เมื่อทำเช่นนี้ก็จะทำให้อัลกอริทึมของเราทำงานได้ในเวลา <math>O(n.f(n)) \,</math> ข้อนี้กำหนดให้ อัลกอริทึม EXIST มีการทำงานคือถามว่าจำนวนเต็ม <math> b \,</math> มีอยู่ในเซต <math> A \, </math> หรือไม่ และใช้เวลาทำงานเป็น  <math>O(f(n)) \,</math>
 
เมื่อทำเช่นนี้ก็จะทำให้อัลกอริทึมของเราทำงานได้ในเวลา <math>O(n.f(n)) \,</math> ข้อนี้กำหนดให้ อัลกอริทึม EXIST มีการทำงานคือถามว่าจำนวนเต็ม <math> b \,</math> มีอยู่ในเซต <math> A \, </math> หรือไม่ และใช้เวลาทำงานเป็น  <math>O(f(n)) \,</math>
  
 +
<geshi lang="c">
 
GENERATE(A,x,n)
 
GENERATE(A,x,n)
:count <-- 0
+
{
: for i=0 to n-1
+
    count <-- 0
:: if (EXIST(x-A[i]))
+
    for i=0 to n-1
::: count <-- count + 1
+
    {
: return (count)
+
        if (EXIST(x-A[i]))
 +
              count <-- count + 1
 +
    }
 +
    return (count)
 +
}
 +
</geshi>

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:30, 4 กันยายน 2552

ข้อย่อย 1

อินพุต: เซตของจำนวนเต็ม ซึ่งมีสมาชิกอยู่ ตัว และจำนวนเต็ม

เอาพุต: มีคู่ของจำนวนเต็ม ที่ อยู่กี่คู่

แนวคิด จากโจทย์ เราต้องการหาคู่ของจำนวนเต็ม ที่ ซึ่งในห้องเรียนเราได้รู้วิธีการหา combination มาแล้ว ซึ่งข้อนี้ก็คือการหาซับเซตของ ที่มีขนาด 2 ที่ สมาชิกของซับเซตทั้งสองตัวนี้บวกกันแล้วได้เท่ากับ x ว่ามีทั้งหมดกี่คู่นั่นเอง จากแนวคิดข้างต้น เราจะได้ว่าวัตถุที่เราสนใจคือ combination ของ ที่มีขนาด 2 และเงื่อนไขคือ สมาชิกของซับเซตทั้งสองตัวนี้บวกกันแล้วได้เท่ากับ x นั่นเอง

จากแนวคิดข้างต้น เมื่อเขียนเป็น pseudocode จะได้ดังนี้

ตัวแปรทุกอย่างขออ้างอิงจากในห้องเรียน โดยที่ข้อนี้ให้ l = 2

<geshi lang="c"> COUNT(c,x) {

   count <-- 0
   if(c[0]+c[1]= x)
         count <-- count + 1
   return(count)

} </geshi>


<geshi lang="c"> GENERARTE(m,l) {

   if l = 0
        return(COUNT(c,x))
   else{
        for c[l-1]=l to m
            GENERATE(c[l-1]-1,l-1)
   }

} </geshi>

ข้อย่อย 2

อินพุต เอาพุตยังเหมือนข้อย่อย 1

แนวคิด วัตถุที่เราสนใจและเงื่อนไขยังเหมือนข้อย่อย 1 และเนื่องจากเงื่อนไขคือ นั่นคือ ถ้าเราพิจารณาจำนวนเต็ม ใด ๆ เราสามารถถามได้ว่าจำนวนเต็ม ซึ่งเท่ากับ นั้นมีอยู่ในเซต หรือไม่ ได้ในเวลา เมื่อทำเช่นนี้ก็จะทำให้อัลกอริทึมของเราทำงานได้ในเวลา ข้อนี้กำหนดให้ อัลกอริทึม EXIST มีการทำงานคือถามว่าจำนวนเต็ม มีอยู่ในเซต หรือไม่ และใช้เวลาทำงานเป็น

<geshi lang="c"> GENERATE(A,x,n) {

    count <-- 0
    for i=0 to n-1
    { 
        if (EXIST(x-A[i]))
             count <-- count + 1
    }
    return (count)

} </geshi>