ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418342 ภาคปลาย 2552/ปฏิบัติการที่ 2"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 1: แถว 1:
 
== แบบฝึกหัด 1 ==
 
== แบบฝึกหัด 1 ==
 
<blockquote>
 
<blockquote>
หากเรามีข้อมูลตัวเลขจำนวนจริงที่ถูกเก็บอยู่ในอะเรย์ 2 ชุดซึ่งมีขนาดเท่ากัน  ให้ลองเขียนโค้ด ruby ที่ทำการบวกข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในอะเรย์ทั้ง 2 ดังลักษณะที่ปรากฏข้างล่างนี้ โดยให้ผลลัพธ์ของการบวกนี้ไปเก็บในอะเรย์อีกชุดนึง
+
หากเรามีข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็มบวกที่ถูกเก็บอยู่ในอะเรย์ 2 ชุดซึ่งมีขนาดเท่ากัน  ให้ลองเขียนโค้ด ruby ที่ทำการบวกข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในอะเรย์ทั้ง 2 ดังลักษณะที่ปรากฏข้างล่างนี้ โดยให้ผลลัพธ์ของการบวกนี้ไปเก็บในอะเรย์อีกชุดนึง
 
</blockquote>
 
</blockquote>
   [ 2.5 4.0 1.0 6.1 .............. ]  <- อะเรย์ชุดที่ 1
+
   [ 20 40 10 61 .............. ]  <- อะเรย์ชุดที่ 1
  + [ 1.5  3.5 0.3.1 .............. ]  <- อะเรย์ชุดที่ 2
+
  + [ 15 35  31 .............. ]  <- อะเรย์ชุดที่ 2
 
  ----------------------------------------
 
  ----------------------------------------
   [ 4.0 7.5 1.0 9.2 .............. ]  <- อะเรย์ผลลัพธ์
+
   [ 35 75 10 92 .............. ]  <- อะเรย์ผลลัพธ์
  
 
<blockquote>
 
<blockquote>
 
=== แนะนำ ===
 
=== แนะนำ ===
 +
โค้ดด้านล่างนี้สามารถสร้างเลขจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 0-99 จำนวน 20 ตัวไว้ในอะเรย์ arr
 
arr = []
 
arr = []
 
20.times { arr << rand(100) }
 
20.times { arr << rand(100) }
 +
 
</blockquote>
 
</blockquote>
  

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:26, 12 พฤศจิกายน 2552

แบบฝึกหัด 1

หากเรามีข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็มบวกที่ถูกเก็บอยู่ในอะเรย์ 2 ชุดซึ่งมีขนาดเท่ากัน ให้ลองเขียนโค้ด ruby ที่ทำการบวกข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในอะเรย์ทั้ง 2 ดังลักษณะที่ปรากฏข้างล่างนี้ โดยให้ผลลัพธ์ของการบวกนี้ไปเก็บในอะเรย์อีกชุดนึง

  [ 20  40  10  61  .............. ]  <- อะเรย์ชุดที่ 1
+ [ 15  35   0  31  .............. ]  <- อะเรย์ชุดที่ 2
----------------------------------------
  [ 35  75  10  92  .............. ]  <- อะเรย์ผลลัพธ์

แนะนำ

โค้ดด้านล่างนี้สามารถสร้างเลขจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 0-99 จำนวน 20 ตัวไว้ในอะเรย์ arr arr = [] 20.times { arr << rand(100) }

แบบฝึกหัด 2