ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418342 ภาคปลาย 2552/ปฏิบัติการที่ 2"
แถว 1: | แถว 1: | ||
== แบบฝึกหัด 1 == | == แบบฝึกหัด 1 == | ||
+ | <blockquote> | ||
+ | จงสร้าง class Cat ที่สืบทอดมาจาก class Animal โดยให้เพิ่ม method ที่มีชื่อว่า nap เข้าไปใน class Cat นี้ และให้ใส่คำสั่ง puts ไว้ใน nap เพื่อแสดงข้อความว่า "I'm taking a nap" | ||
+ | </blockquote> | ||
+ | class Animal | ||
+ | def eat thing | ||
+ | puts "I'm eating #{thing}" | ||
+ | end | ||
+ | end | ||
+ | |||
+ | <blockquote> | ||
+ | === แนะนำ === | ||
+ | Ruby กำหนดการสืบทอดโดยใช้เครื่องหมาย < ดังลักษณะการใช้ข้างล่างนี้ | ||
+ | </blockquote> | ||
+ | class B < A # เป็นการกำหนดให้ B เป็น subclass ของ A | ||
+ | end | ||
+ | |||
+ | == แบบฝึกหัด 2 == | ||
+ | <blockquote> | ||
+ | จงแก้ไข method sleep ในแบบฝึกหัดที่ 2 เพื่อให้รับค่าพารามิเตอร์ที่จะถูกส่งผ่านเข้ามา ซึ่งใช้เป็นค่าที่บอกถึงจำนวนเวลาหน่วยวินาทีที่ให้มีการแสดงข้อความ "I'm taking a nap" อย่างต่อเนื่อง โดยให้ข้อความที่แสดงแต่ละครั้งจะมีเวลาห่างกันประมาณ 1 วินาที | ||
+ | </blockquote> | ||
+ | === แนะนำ === | ||
+ | * เราสามารถใช้ method sleep แล้วตามด้วยตัวเลขจำนวนเต็ม เพื่อบอกถึงจำนวนวินาทีที่ sleep จะพักการทำงานจนกว่าเวลาที่กำหนดนั้นจะหมดลง ส่วน method now | ||
+ | </blockquote> | ||
+ | |||
+ | == แบบฝึกหัด 3 == | ||
<blockquote> | <blockquote> | ||
หากเรามีข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็มบวกที่ถูกเก็บอยู่ในอะเรย์ 2 ชุดซึ่งมีขนาดเท่ากัน ให้ลองเขียนโค้ด ruby ที่ทำการบวกข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในอะเรย์ทั้ง 2 ดังลักษณะที่ปรากฏข้างล่างนี้ โดยให้ผลลัพธ์ของการบวกนี้ไปเก็บในอะเรย์อีกชุดนึง | หากเรามีข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็มบวกที่ถูกเก็บอยู่ในอะเรย์ 2 ชุดซึ่งมีขนาดเท่ากัน ให้ลองเขียนโค้ด ruby ที่ทำการบวกข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในอะเรย์ทั้ง 2 ดังลักษณะที่ปรากฏข้างล่างนี้ โดยให้ผลลัพธ์ของการบวกนี้ไปเก็บในอะเรย์อีกชุดนึง | ||
แถว 14: | แถว 39: | ||
arr = [] | arr = [] | ||
20.times { arr << rand(100) } | 20.times { arr << rand(100) } | ||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− | |||
− |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:20, 12 พฤศจิกายน 2552
แบบฝึกหัด 1
จงสร้าง class Cat ที่สืบทอดมาจาก class Animal โดยให้เพิ่ม method ที่มีชื่อว่า nap เข้าไปใน class Cat นี้ และให้ใส่คำสั่ง puts ไว้ใน nap เพื่อแสดงข้อความว่า "I'm taking a nap"
class Animal def eat thing puts "I'm eating #{thing}" end end
แนะนำ
Ruby กำหนดการสืบทอดโดยใช้เครื่องหมาย < ดังลักษณะการใช้ข้างล่างนี้
class B < A # เป็นการกำหนดให้ B เป็น subclass ของ A end
แบบฝึกหัด 2
จงแก้ไข method sleep ในแบบฝึกหัดที่ 2 เพื่อให้รับค่าพารามิเตอร์ที่จะถูกส่งผ่านเข้ามา ซึ่งใช้เป็นค่าที่บอกถึงจำนวนเวลาหน่วยวินาทีที่ให้มีการแสดงข้อความ "I'm taking a nap" อย่างต่อเนื่อง โดยให้ข้อความที่แสดงแต่ละครั้งจะมีเวลาห่างกันประมาณ 1 วินาที
แนะนำ
- เราสามารถใช้ method sleep แล้วตามด้วยตัวเลขจำนวนเต็ม เพื่อบอกถึงจำนวนวินาทีที่ sleep จะพักการทำงานจนกว่าเวลาที่กำหนดนั้นจะหมดลง ส่วน method now
แบบฝึกหัด 3
หากเรามีข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็มบวกที่ถูกเก็บอยู่ในอะเรย์ 2 ชุดซึ่งมีขนาดเท่ากัน ให้ลองเขียนโค้ด ruby ที่ทำการบวกข้อมูลตัวเลขที่อยู่ในอะเรย์ทั้ง 2 ดังลักษณะที่ปรากฏข้างล่างนี้ โดยให้ผลลัพธ์ของการบวกนี้ไปเก็บในอะเรย์อีกชุดนึง
[ 20 40 10 61 .............. ] <- อะเรย์ชุดที่ 1 + [ 15 35 0 31 .............. ] <- อะเรย์ชุดที่ 2 ---------------------------------------- [ 35 75 10 92 .............. ] <- อะเรย์ผลลัพธ์
แนะนำ
โค้ดด้านล่างนี้สามารถสร้างเลขจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 0-99 จำนวน 20 ตัวไว้ในอะเรย์ arr
arr = [] 20.times { arr << rand(100) }