ผลต่างระหว่างรุ่นของ "204512-53/lecture2"
Art (คุย | มีส่วนร่วม) (→Proof) |
Art (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 90: | แถว 90: | ||
=Binary Search Tree= | =Binary Search Tree= | ||
+ | |||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:BST.JPG]] | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:Tree_subtree.PNG]] | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:Tree_value.PNG]] | ||
=Red-Black Trees= | =Red-Black Trees= |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:41, 8 กรกฎาคม 2553
เนื้อหา
Loop Invariants
- การเรียงข้อมูล ยกตัวอย่าง
- Insertion Sort
- Bubble Sort
Insertion Sort
Algorithm
1. for i = 2 to n (พิจารณาข้อมูล array A[i])
2. x A[i] , j (i - 1)
3. While (i > 0) and (A[j] > x) A[j+1] A[j] j j-1 A[j+1] = x
Loop Invariants
1. I จริงก่อนทำ (Initialization) 2. ทุกๆรอบหลัง loop ทำเสร็จ I ก็จริง (Maintainance) 3. ถ้า loop จบการทำงาน +I (Termination) เป้าหมายก็คือโปรแกรมถูกต้องตรงกับ termination ที่เราต้องการ
Proof
1. I : A[1,...,i-1] เป็นข้อมูลชุดเดียวกับ A[1,....,i-1]ตั้งต้นและเรียงลำดับจากน้อยไปมาก
2. รอบที่ K ใดๆ i = k A[1,...,k-1] A[k] . ตัวที่ 1 ... k-1 K . . . i . k+1 A[1,....,k](เรียงตามลำดับ)
ถ้า loop Invariants จริง โปรแกรมทำงานเรื่อย จะหยุดทำงานเมื่อเงื่อนไขไม่จริง
Bubble Sort
พิจารณา array A = [2,1,3,4,6,5,7,9,10]
Algorithm
1. for j 1 to n 2. i 1 3. while i<n 4. if A[i]>A[i+1] 5. swap(A[i],A[i+1]) 6. i i+1
Loop Invariant
I1: "A ช่อง j-1 ช่องสุดท้ายเรียงลำดับจากน้อยไปมาก และเป็นข้อมูล j-1 ตัวที่มีค่ามากที่สุดใน A"
I2: "A[i] มีค่ามากสุดในบรรดา A[1,...,i]"
Proof I2
1. เริ่มต้น i=1 เห็นตัวเดียว เพราะฉะนั้น Initial จริง
2. ตาม if ถ้าตัวที่ i มากกว่า i+1 ก็สลับ เพราะฉะนั้น i เป็นตัวที่มากสุึด
3.โปรแกรมทำงานเรื่อย จะหยุดทำงานเมื่อเงื่อนไขไม่จริง
BIG O
Definition
function f(n) เป็น O(g(n)) หรือ f(n) = O(g(n))
ถ้ามี n0 และ c(คือค่าคงที่) ที่
f(n) ≤ c.g(n) โดยที่ n ≥ n0
ตัวอย่าง กราฟ Big O
ตัวอย่าง1
พิสูจน์ 1000n = O(n2)
ถ้า n > 1000 n2 ≥ 1000n
ให้ n0 = 1001 , c = 1 1000n ≤ 1n2
เมื่อ n ≥ 1001
Binary Search Tree
Red-Black Trees
- เป็น Binary tree
- Assume ว่าทุก node จบลงที่ Nil Node(All leaf node is Nil)
เงื่อนไข
- Node ใดๆจะเป็นสีแดงไม่ก็ดำ
- Root เป็นสีดำ
- Leaf เป็นสีดำ
- Node ใดเป็น Red Node Child ของ Node นั้นจะต้องเป็น Black Node
- จาก Node u ใดๆทุกๆ Path จาก Node ดังกล่าวไปยัง Leaf ของมันจะต้องมี Node ที่เป็นสีดำเท่ากันทั้งหมด
Lemma
Red-Black tree ที่มี n internal nodes จะมีความสูงไม่เกิน 2log(n+1)
Proof
นิยาม ที่ Node u ใดๆ bh(u) (black height ของ u) จะเท่ากับจำนวน Black Node จาก u ไป Node Leaf ใดๆ(ไม่นับ u))
Claim
สำหรับ internal node u ใดๆจำนวน internal node ใน sub-tree ใดๆที่ u เป็น rootจะมีค่าไม่น้อยกว่า 2^bh(u) -1
Proof (By induction)
ให้ w = u.left และ h = u.right
bh(w) ≥ bh(u) – 1
bh(x) ≥ bh(u) – 1
โดย Induction
Sub-tree ของ w มี internal node ≥ 2^bh(w) -1 ≥ 2^(bh(u)-1) -1
Sub-tree ของ x มี internal node ≥ 2^bh(x) -1 ≥ 2^(bh(u)-1) -1
ดังนั้น internal node ของ u = 1 + 2^(bh(u)-1) -1 + 2^(bh(u)-1) -1 = 2^bh(u) -1
พิจารณา Red-Black Tree ใดๆสูง h
bh(h) ≥ h/2 (เนื่องจาก Red Node จะต้องตามด้วย Black Node เสมอ)
จะได้ Internal node (n)
n ≥ 2^bh(h) -1
n ≥ 2^(h/2)-1
n+1 ≥ 2^(h/2)
log(n+1) ≤ h/2
h ≤2log(n+1)