01204223 การปฏิบัติการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2556
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:53, 16 สิงหาคม 2557 โดย Chaiporn (คุย | มีส่วนร่วม) (Move previous year's contents)
หน้านี้รวบรวมลิงก์ของเอกสารและวิดีโอประกอบการเรียนวิชาการปฏิบัติการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2556
เนื้อหา
ประกาศ
- ยินดีต้อนรับสู่วิชาการปฏิบัติการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
- เจอกันใน facebook
แผนการสอน
เนื้อหา
สัปดาห์ที่ 1
- ซอฟต์แวร์ (เช้า): ระบบยูนิกซ์และคำสั่งพื้นฐาน เอกสารแล็บ (ดูคลิปจากรายการวิดีโอด้านล่าง)
- เพิ่มเติม: การใช้ filename expansion (ดูคลิปตอนที่ 2 ประกอบ)
- ซอฟต์แวร์ (บ่าย): ยูนิกส์สำหรับ geek เอกสารแล็บ
สัปดาห์ที่ 2
- ฮาร์ดแวร์ (เช้า): เครื่องมือวัดและชุดทดลองวงจรดิจิทัล
- สไลด์: (เอกสาร ppt) (เอกสาร pdf)
- วิดิทัศน์: การใช้งานชุดทดลองดิจิทัลเบื้องต้น
- วิดิทัศน์: การเตรียมการใช้งานออสซิลโลสโคป
- วิดิทัศน์: กลไกทริกเกอร์ของออสซิลโลสโคป
- วิดิทัศน์: การใช้งานระบบเคอร์เซอร์
- ฮาร์ดแวร์ (บ่าย): การประกอบวงจรพิมพ์
- สไลด์: การสร้างวงจรต้นแบบ (เอกสาร ppt) (เอกสาร pdf)
- สไลด์: การบัดกรีชิ้นงานอิเล็กทรอนิกส์ (เอกสาร ppt) (เอกสาร pdf)
- วิดิทัศน์: การบัดกรีวงจร (ไฟล์ .mkv, ซับไทย)
- วิกิ: การบัดกรีแผงวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์
สัปดาห์ที่ 3
- ฮาร์ดแวร์ (เช้า): ไมโครคอนโทรลเลอร์และการพัฒนาเฟิร์มแวร์
- สไลด์: ไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องต้น (เอกสาร ppt) (เอกสาร pdf)
- วิกิ: การพัฒนาเฟิร์มแวร์สำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์
- วิกิ: การแก้ไขสิทธิการเข้าถึงพอร์ท USB ของบอร์ด MCU
- ชุดคำสั่งของสถาปัตยกรรม AVR
- Datasheet สำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์เบอร์ ATMega168
- ผังวงจรบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์
- ไฟล์วงจรและแผ่นวงจรพิมพ์ของบอร์ด Practicum เปิดด้วยโปรแกรม CadSoft EAGLE
- ซอฟต์แวร์ (บ่าย): Python: งูเหลือมตะลุยจักรวาล เอกสาร pdf
- เราจะใช้ gedit ซึ่งเป็น editor ที่ติดมากับ ubuntu อย่างไรก็ตามเพื่อความสะดวกในการเขียนโปรแกรม Python ควรเปลี่ยน syntax highlight mode เป็น Python, ปรับ tab ให้มีขนาด 4 ช่อง และให้ gedit ใส่ spaces แทน tab ให้ด้วย
- โหลดไฟล์สำหรับทำแลบที่นี่
- สไลด์เนื้อหาไพธอน
สัปดาห์ที่ 4
- ฮาร์ดแวร์: การประกอบวงจรต้นแบบบนบอร์ดไข่ปลา และการเขียนโปรแกรมจัดการอินพุทและเอาท์พุท
- สไลด์: แผงวงจรพ่วง (เอกสาร ppt) (เอกสาร pdf)
- วิกิ: แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)
- ซอฟต์แวร์ 1: พัฒนาโปรแกรมด้วย TDD บน Python
- ดูคลิปด้านล่าง
- ทำแลบ Python Kang Fu ใน Elab2
- ในแลบนี้เราจะประมวลผลข้อมูลในลิสต์มากมาย ด้านล่างเป็นรายการเอกสารเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้งานลิสต์:
- การใช้งานลิสต์ที่ละเอียดขึ้นจาก Python Tutorial ในเอกสารนี้ให้สังเกตความหมายของการอ้างถึงข้อมูลในลิสต์ โดยใช้ดัชนีที่เป็นบวก (นับจากหน้า) และดัชนีที่เป็นลบ (นับลำดับจากท้าย) เช่นการอ้าง a[3] หรือ a[-1] และการอ้างส่วนของลิสต์ เช่น a[1:10], a[2:] หรือ a[1:-1] เป็นต้น
- เอกสารอ้างอิง Sequence Types และ Mutable Sequence Types (ลิสต์เป็นรายการที่เปลี่ยนได้ จึงเรียกว่าเป็น mutable sequence types)
- เอกสาร doctest
- ด้านล่างเป็นโค้ดที่ต้องเพิ่มไปตอนท้ายโปรแกรม เพื่อให้ python รัน doctest ในโมดูลของเรา
if __name__ == "__main__": import doctest doctest.testmod()
- ซอฟต์แวร์ 2: การจัดการกับความซับซ้อนของซอฟต์แวร์ใน Python --- โมดูล (modules) และคลาส (classes)
- คลิป OOP บน Python: ตอนที่ 1, ตอนที่ 2, ตอนที่ 3, ตอนที่ 4
- เอกสารประกอบ: โมดูลใน Python,การโปรแกรมเชิงวัตถุแบบเต่า ๆ, การโปรแกรมเชิงวัตถุใน Python,
- รายละเอียดเกี่ยวกับงานบอร์ด (ข้อ b1 - b7 ใน elab2)
ตัวอย่างการเรียกใช้ __init__ จากคลาสที่เรา inherite มา
class Robot(GamePiece): def __init__(self,r,c,target): GamePiece.__init__(self,r,c) # ..... your other initialization code here
สัปดาห์ที่ 5
- ฮาร์ดแวร์ (เช้า): การควบคุมเอาท์พุท และการตรวจสอบอินพุทแบบดิจิทัลและแอนะล็อก
- สไลด์: ภาษาซีเบื้องต้นสำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์ (เอกสาร ppt) (เอกสาร pdf)
- สไลด์: แผงวงจรพ่วง (เอกสาร ppt) (เอกสาร pdf)
- วิกิ: แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)
- วิกิ: การวัดสัญญาณแอนะล็อกด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์
- ฮาร์ดแวร์ (บ่าย): การจำลองบอร์ด MCU เป็นอุปกรณ์ USB
- สไลด์: การเชื่อมต่อกับบอร์ด MCU ผ่านพอร์ต USB (เอกสาร ppt) (เอกสาร pdf)
- วิกิ: การจำลองบอร์ด MCU เป็นอุปกรณ์ USB
สัปดาห์ที่ 6
- Kivy: [1]
สัปดาห์ที่ 7
- การใช้ตัววัดแสงเป็นอุปกรณ์จอยสติ๊กสำหรับเกมที่เขียนด้วย Kivy
สัปดาห์ที่ 8-11
สัปดาห์ที่ 12
- เครื่องมือจัดการเวอร์ชัน
- สไลด์: การจัดการเวอร์ชันด้วย Mercurial (เอกสาร ppt) (เอกสาร pdf)
- ลิ้งค์: TortoiseHG
- ลิ้งค์: MacHg
การติดตั้ง TortoiseHG บนลินุกซ์ Mint/Ubuntu/Debian ใช้คำสั่ง
sudo apt-get install tortoisehg
รายการวิดีโอ
ฮาร์ดแวร์
- แนะนำการใช้งานชุดทดลองดิจิทัลและออสซิลโลสโคป
Unix
- แนะนำ path ใน unix
- ตอนที่ 1 เกริ่นนำเกี่ยวกับ shell และแนะนำแนวคิดของโครงสร้างไดเร็กทอรี
- ตอนที่ 2 อธิบายแนวคิดของ working directory และการอ้างถึงไฟล์โดยอิงกับ working directory, ทดลองใช้คำสั่ง ls, cd, pwd และ cp
- ตอนที่ 3 อธิบายวิธีการอ้างถึงไฟล์ในรูปแบบอื่น ๆ เช่นการอ้างแบบ absolute (/) อ้างผ่าน home (~) และการอ้างถึงตำแหน่งนั้นเอง (.) กับการอ้างถึงไดเร็กทอรีก่อนหน้า (..)
- แนะนำ unix ตอน 2: glob และการกระจายคำสั่ง
- แนะนำ unix ตอน 3: การใช้ redirection และ pipe
- คลิปที่ youtube (มีตอนเดียว) แนะนำการใช้งาน rediretion และ pipe พร้อมยกตัวอย่างด้วยคำสั่ง grep และ wc และแนะนำคำสั่ง tee
Python
- การเขียน Python เบื้องต้น
- ยังไม่มี
- การพัฒนาแบบใช้การทดสอบผลักดัน (Test-driven development)
- TDD บน Python ตอนที่ 1, ตอนที่ 2, ตอนที่ 3
- คลิปโดย Masterspark: ตัวอย่างการเขียนฟังก์ชัน 1, ตัวอย่างการเขียนฟังก์ชัน 2, คลิปอื่น ๆ ของ Masterspark