ข้อ 1
จงแสดงว่าข้อความต่อไปนี้เป็นจริง
- ถ้า เป็นเซต แล้ว
- ถ้า = และทั้งคู่ไม่ใช่เซตว่าง แล้ว
เฉลย
ข้อ 2
จงพิจารณาว่าความสัมพันธ์บนเซตของจำนวนเต็มบวกต่อไปนี้ มีคุณสมบัติสะท้อน สมมาตร ถ่ายทอด หรือปฏิสมมาตรหรือไม่
- เป็นพหุคูณของ
เฉลย
ข้อ 3
จงตอบคำถามต่อไปนี้
- ถ้า R เป็นความสัมพันธ์บนเซตของคนในโลก ซึ่งมีสมาชิกเป็นคู่ลำดับ (a,b) โดยที่ a เป็นบิดาหรือมารดาของ b และให้ S เป็นความสัมพันธ์ที่มีสมาชิกเป็นคู่ลำดับ (a,b) เมื่อ a และ b เป็นพี่น้องกัน แล้ว และ มีความหมายว่าอะไร?
- ถ้า R เป็นความสัมพันธ์บนเซต {1, 2, 3, 4, 5} โดย R = {(1, 1), (1, 2), (1, 3), (2, 3), (2, 4), (3, 1), (3, 4), (3, 5), (4, 2), (4, 5), (5, 1), (5, 2), (5, 4)} จงหาค่า , , , และ
เฉลย
ข้อ 4
ถ้า R เป็นความสัมพันธ์ที่แทนด้วยเมตริกซ์
จงหาเมตริกซ์ที่แทนความสัมพันธ์ , , , , และ
เฉลย
ข้อ 5
จงเขียนกราฟแบบมีทิศทางที่แทนความสัมพันธ์ต่อไปนี้ {(a, a), (a, b), (b, c), (c, b), (c, d), (d, a), (d, b)}
เฉลย
ข้อ 6
ความสัมพันธ์บนเซตของผู้คนใดต่อไปนี้เป็นความสัมพันธ์สมมูลบ้าง? ถ้าความสัมพันธ์ไหนไม่เป็น จงบอกว่ามันขาดคุณสมบัติข้อใด ถ้าความสัมพันธ์ไหนเป็น จงบอกว่า equivalence class ของมันคือเซตอะไร
- { (a, b) | a และ b มีอายุเท่ากัน }
- { (a, b) | a และ b เป็นลูกทางชีวภาพ (biological children) ของผู้ชายคนเดียวกัน }
- { (a, b) | พ่อของ a เป็นพ่อของ b ด้วย }
- { (a, b) | a เคยพบ b }
- { (a, b) | a และ b พูดภาษาเดียวกัน }
เฉลย
ข้อ 7
กำหนดเซต และกำหนดความสัมพันธ์ R บน A โดยที่
- ก็ต่อเมื่อ
จงแสดงว่า R เป็นความสัมพันธ์สมมูล และอธิบายว่า equivalence class ของ R คืออะไรให้ง่ายที่สุดเท่าที่จะง่ายได้
เฉลย
ข้อ 8
[Rosen 6.5.30] ถ้า และ เป็นความสัมพันธ์สมมูลบนเซต A แล้ว
- เป็นความสัมพันธ์สมมูลหรือไม่
- เป็นความสัมพันธ์สมมูลหรือไม่
- เป็นความสัมพันธ์สมมูลหรือไม่
เฉลย
ข้อ 9
[Rosen 1.6.10] จงหาตัวอย่างของฟังก์ชันจาก ไปยัง ที่
- เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งแต่ไม่ทั่วถึง
- เป็นฟังก์ชันทั่วถึงแต่ไม่หนึ่งต่อหนึ่ง
- เป็นทั้งฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและทั่วถึง (แต่ไม่ใช้ฟังก์ชันเอกลักษณ์)
- ไม่เป็นทั้งฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและทั่วถึง
เฉลย
ข้อ 10
[Rosen 1.6.15, 1.6.16] ถ้า f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปยัง B และ g เป็นฟังก์ชันจาก B ไปยัง C แล้ว
- จงแสดงว่าถ้า f และ g เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง แล้ว เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
- จงแสดงว่าถ้า f และ g เป็นฟังก์ชันทั่วถึง แล้ว เป็นฟังก์ชันทั่วถึง
- ถ้า f และ เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งแล้ว g เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งด้วยหรือไม่?
เฉลย
ข้อ 11
[Rosen 1.6.38] สมมติว่า f เป็นฟังก์ชันผันกลับได้จาก A ไปยัง B และ g เป็นฟังก์ชันผันกลับได้จาก B ไปยัง C แล้ว จงแสดงว่า
เฉลย
ข้อ 12
กำหนด เป็นเซตของเซตทั้งหมด และกำหนดความสัมพันธ์ R บน โดยที่
- ก็ต่อเมื่อ A มีจำนวนสมาชิกเท่ากับ B
จงแสดงว่า R เป็นความสัมพันธ์สมมูล
เฉลย
ข้อ 13
พิจารณาฟังก์ชันต่อไปนี้ แล้วแสดงว่ามันเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง และ/หรือ ทั่วถึงหรือไม่
- โดยที่
- โดยที่
เฉลย
ข้อ 14
พิจารณาฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและทั่วถึงต่อไปนี้ แล้วหาฟังก์ชันผันกลับของมัน
- โดยที่
- โดยที่
- โดยที่
เฉลย
ข้อ 15
จงแสดงว่าเซตต่อไปนี้แต่ละคู่มีสมาชิกเท่ากัน
- และ
- และ
- และ
- และ
เฉลย