ผลต่างระหว่างรุ่นของ "204111:lab5"
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
Jittat (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 73: | แถว 73: | ||
=== b2.5. การอ่านพหุนาม === | === b2.5. การอ่านพหุนาม === | ||
− | + | ในโจทย์หลายข้อ เราจะอ่านพหุนามจากผู้ใช้ โดยการอ่านจะมีรูปแบบดังนี้ | |
+ | |||
+ | * ผู้ใช้จะป้อนข้อมูลตัวแรกเป็นจำนวนเต็ม <math>d</math> แทนกำลังสูงจุดของตัวแปร <math>x</math> ในพหุนามดังกล่าว | ||
+ | * จากนั้นจะป้อนจำนวนจริงอีก <math>d + 1</math> จำนวน แทนสัมประสิทธิ์ของตัวแปร <math>x</math> โดยเริ่มจาก <math>a_0</math>, <math>a_1</math>, ไปจนถึง <math>a_d</math> พหุนามที่ผู้ใช้ป้อนคือ <math>f(x) = a_0 + a_1\cdot x + a_2\cdot x^2 + \cdots + a_d x^d</math> | ||
+ | |||
+ | ให้ฟังก์ชันดังกล่าวคืนค่าเป็นรายการของสัมประสิทธิ์ [<math>a_0</math>,<math>a_1</math>,<math>a_2</math>,...,<math>a_d</math>] | ||
=== b3. พหุนาม === | === b3. พหุนาม === |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:24, 2 กรกฎาคม 2553
ปฏิบัติการที่ 5 ของวิชา 20411 ตามแผนร่างหัวข้อวิชา 204111 มีเนื้อหาดังนี้
- list
เนื้อหา
การอ้างข้อมูลในลิสต์
ลิสต์และลูป
b0. ฟังก์ชันอ่านรายการ
ให้เขียนฟังก์ชัน read_list() ที่อ่านรายการของจำนวนเต็มที่ผู้ใช้ป้อน โดยสิ้นสุดการป้อนเมื่อป้อน -1 ให้ฟังก์ชันดังกล่าวคืนรายการของจำนวนเต็มที่อ่านได้ (ไม่รวม -1)
นิสิตสามารถนำฟังก์ชันที่เขียนไว้แล้วนี้ไปใช้ในข้ออื่น ๆ ได้
(หมายเหตุถึง TA: ให้ประกาศหัวฟังก์ชันไว้ แล้วเว้นช่องให้เขียนโปรแกรม ให้ตัวอย่างโปรแกรมหลักและตัวอย่างการทำงาน)
ตัวอย่างของโปรแกรมหลักที่เรียกใช้ฟังก์ชันดังกล่าว โปรแกรมนี้รับรายการแล้วพิมพ์ค่าในรายการออกมา
ls = read_list() for x in ls: print(x)
ตัวอย่างการทำงานของโปรแกรมตัวอย่าง
10 20 15 3 -1 10 20 15 3
b1. ผลรวมกำลังสอง
เขียนโปรแกรมอ่านรายการของจำนวนเต็ม จากนั้นคำนวณหาผลรวมของจำนวนเต็มในรายการยกกำลังสอง
ยกตัวอย่างเช่น ถ้าจำนวนเต็มในรายการเป็น 10 20 15 และ 3 ผลรวมคือ
ผู้ใช้จะป้อนข้อมูลทีละจำนวน และจะจบการป้อนโดยการป้อน -1
ตัวอย่างการทำงาน
10 20 15 3 -1 Answer = 734
b2. ผลรวมของผลต่างจากค่าน้อยที่สุดกำลังสอง
เขียนโปรแกรมอ่านรายการของจำนวนเต็ม จากนั้นคำนวณหาผลรวมของกำลังสองของผลต่างของจำนวนเต็มกับค่าที่น้อยที่สุด
ยกตัวอย่างเช่น ถ้าจำนวนเต็มในรายการเป็น 10 20 15 และ 3 ดังนั้นค่าที่น้อยที่สุดคือ 3
คำตอบที่เราต้องการคือ
ผู้ใช้จะป้อนข้อมูลทีละจำนวน และจะจบการป้อนโดยการป้อน -1
ตัวอย่างการทำงาน
10 20 15 3 -1 Answer = 482
หมายเหตุ สามารถใช้ฟังก์ชัน min ในการหาค่าน้อยที่สุดได้
b2.5. การอ่านพหุนาม
ในโจทย์หลายข้อ เราจะอ่านพหุนามจากผู้ใช้ โดยการอ่านจะมีรูปแบบดังนี้
- ผู้ใช้จะป้อนข้อมูลตัวแรกเป็นจำนวนเต็ม แทนกำลังสูงจุดของตัวแปร ในพหุนามดังกล่าว
- จากนั้นจะป้อนจำนวนจริงอีก จำนวน แทนสัมประสิทธิ์ของตัวแปร โดยเริ่มจาก , , ไปจนถึง พหุนามที่ผู้ใช้ป้อนคือ
ให้ฟังก์ชันดังกล่าวคืนค่าเป็นรายการของสัมประสิทธิ์ [,,,...,]
b3. พหุนาม
เขียนโปรแกรมรับพหุนาม จากผู้ใช้ จากนั้นรับค่า แล้วคำนวณค่า
ข้อมูลป้อนเข้า
- ผู้ใช้จะป้อนข้อมูลตัวแรกเป็นจำนวนเต็ม แทนกำลังสูงจุดของตัวแปร ในพหุนามดังกล่าว
- จากนั้นจะป้อนจำนวนจริงอีก จำนวน แทนสัมประสิทธิ์ของตัวแปร โดยเริ่มจาก , , ไปจนถึง พหุนามที่ผู้ใช้ป้อนคือ
- สุดท้ายผู้ใช้จะป้อนจำนวนจริง
ให้โปรแกรมตอบค่า เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง
ตัวอย่างเช่น ถ้าพหุนามเป็น และผู้ใช้ต้องการคำนวณค่า ตัวอย่างการทำงานของโปรแกรมจะเป็นดังนี้
3 10 3 -1 2 3 f(a) = 64.00
b-x. ดื่มน้ำ (ยังไม่เสร็จ)
มีนักเรียนทั้งสิ้น N คน นั่งเรียงกันเป็นแถว นักเรียนแต่ละคนต้องการดื่มน้ำปริมาตรแตกต่างกัน เจ้าหน้าที่เดินรินน้ำให้กับนักเรียนแต่ละคน อยากทราบว่าหลังจากรินน้ำให้กับนักเรียนแต่ละคนแล้ว น้ำในเหยือกจะเหลือเท่าใด
b2. พิมพ์กลับหลัง
เขียนโปรแกรมรับจำนวนเต็ม จนกระทั่งผู้ใช้ป้อน -1 จากนั้นพิมพ์จำนวนเต็มที่รับ จากหน้าไปหลัง บรรทัดละ 1 ตัว
ตัวอย่างการทำงาน
10 20 15 3 -1 3 15 20 10