ผลต่างระหว่างรุ่นของ "204435 มโนทัศน์ภาษาโปรแกรม 2550"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(ย้อนการแก้ไขของ 109.230.216.60 (Talk) ไปยังรุ่นของ 109.230.216.225)
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
แถว 1: แถว 1:
Stay with this guys, you're helping a lot of poeple.
+
หน้านี้เป็นหน้ารายวิชาของวิชามโนทัศน์ภาษาโปรแกรม
 +
 
 +
ผู้สอน: [http://www.cpe.ku.ac.th/~jtf จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล]
 +
 
 +
==ประกาศ==
 +
* เกรดและคะแนนดูได้ที่หน้าห้องครับ
 +
* ข้อสอบปลายภาค
 +
** อนุญาตให้เปิดเอกสารได้
 +
** จะเน้นมโนทัศน์ (concept) ที่เรียนหลังสอบกลางภาค เช่น แนวคิดเกี่ยวกับโมดูล, การโปรแกรมเชิงวัตถุ, การเปรียบเทียบภาษาเชิงวัตถุต่าง ๆ การโปรแกรมแบบทำงานพร้อมกัน เป็นต้น
 +
** อย่างไรก็ตามในข้อสอบอาจกล่าวถึง หรืออ้างถึง หรือให้วิเคราะห์ แนวคิดที่เรียนมาทั้งหมดได้
 +
** ข้อสอบปลายภาคจะไม่เน้นให้เขียนโปรแกรม และไม่เน้นภาษาโปรแกรมที่ทดลอง เช่น Ruby หรือ Python อย่างไรก็ตาม อาจมีการถามแนวคิดต่าง ๆ โดยยกตัวอย่างจากภาษาเหล่านี้ด้วย ยกตัวอย่างเช่น ข้อสอบอาจถาม
 +
จงพิจารณาโปรแกรมภาษา Ruby ที่หาผลรวมของตัวเลขใน array (หรือเรียกว่า list ในภาษาอื่น) ต่อไปนี้
 +
  l = [1,2,3,4,5,6]
 +
  sum = 0
 +
  l.each do |x|
 +
    sum += x
 +
  end
 +
โครงสร้าง do .. end เรียกว่า block ในโปรแกรมข้างต้น ใน block ดังกล่าวเราประกาศให้รับค่าเข้ามาทางตัวแปร x
 +
แล้วนำมาบวกกับตัวแปร sum โดย method each ของคลาส array จะนำข้อมูลแต่ละตัวมาป้อนให้กับ block นี้
 +
จากตัวอย่างดังกล่าว จงอธิบายว่า เพราะเหตุใด block จึงต้องเป็น closure
 +
* '''ข้อสอบเก่า:''' [http://theory.cpe.ku.ac.th/wiki/images/204435Final49.pdf  204435Final29.pdf]
 +
 
 +
==การเตรียมตัวก่อนเข้าเรียน==
 +
ในส่วนนี้จะระบุรายละเอียดของซอฟต์แวร์ที่นิสิตต้องติดตั้งก่อนเข้าเรียนแต่ละครั้ง โดยแยกเป็นหมู่เรียนที่วิทยาเขตบางเขน และวิทยาเขตศรีราชา
 +
* สัปดาห์ที่ 13
 +
** จะทดลองเขียนโปรแกรมแบบทำงานพร้อมกัน ด้วย [http://www.stackless.com/ Stackless Python] ให้ติดตั้งมาก่อน เพื่อความสะดวกแนะนำให้ใช้ [http://www.stackless.com/download ตัวติดตั้งสำเร็จรูป] ที่มีให้เฉพาะบน Windows  ในกรณีของ Linux ต้องคอมไพล์เอง
 +
 
 +
==รายละเอียดวิชา==
 +
ในมุมมองที่กว้างที่สุด ภาษาโปรแกรมเป็นเครื่องมือสำหรับอธิบายการคำนวณ (computation) อย่างไรก็ตามมุมมองของการคำนวณนั้นมีได้หลากหลาย  เป็นจุดกำเนิดที่ทำให้เกิดภาษาโปรแกรมที่วางอยู่บนกระบวนทัศน์ (paradigm) ที่แตกต่างกันจำนวนมากมาย
 +
 
 +
วิชานี้ มีเป้าหมายที่จะศึกษาแนวคิดต่าง ๆ ที่มีใช้ในภาษาโปรแกรมสมัยใหม่ เพื่อให้เข้าใจกระบวนการทำงาน ขีดจำกัด และผลกระทบที่มีต่อกระบวนการคิดวิเคราะห์ของผู้ใช้
 +
 
 +
เราจะสนใจแนวคิดพื้นฐาน พร้อมกับเน้นกระบวนทัศน์ภาษาโปรแกรมที่สำคัญได้แก่การโปรแกรมเชิงฟังก์ชันและการโปรแกรมเชิงวัตถุ นอกจากนี้ยังจะให้ความสำคัญเกี่ยวกับแนวคิดของภาษาเชิงพลวัติที่ทวีความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ
 +
 
 +
นอกจากจะศึกษาแนวคิดที่สำคัญแล้ว ในวิชานี้จะมีการให้นิสิตได้ทดลองเขียนโปรแกรมด้วยภาษาและกรอบงาน (framework) ต่าง ๆ เพื่อเพิ่มความเข้าใจอีกด้วย ตัวอย่างภาษาที่จะได้ทดลอง เช่น Scheme, ML, Smalltalk, Java, C#, Ruby
 +
 
 +
==การบ้าน==
 +
การส่งการบ้านที่เป็นโปรแกรม ให้ส่งเป็นจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ไปที่ e-mail ของอาจารย์ผู้สอน (ดูจาก [http://www.cpe.ku.ac.th/~jtf])
 +
* การบ้าน 1: ให้ทำแบบฝึกหัดใน[http://garnet.cpe.ku.ac.th/~jtf/435/lect02-scheme.pdf เอกสาร Scheme] ข้อที่ 1, 2, 6, 8, 10 และ 11 (กำหนดส่ง. บางเขน: 12 พ.ย. ศรีราชา: 28 พ.ย.) ([http://garnet.cpe.ku.ac.th/~jtf/435/sol01.pdf เฉลย])
 +
* การบ้าน 2: [http://garnet.cpe.ku.ac.th/~jtf/435/hw02.pdf pdf] (กำหนดส่ง: บางเขน: 30 พ.ย.  ศรีราชา: 12 ธ.ค.)
 +
* การบ้าน 3: [http://garnet.cpe.ku.ac.th/~jtf/435/hw03.pdf pdf] (กำหนดส่ง: บางเขน: 11 ธ.ค.  ศรีราชา: 12 ธ.ค.)
 +
* การบ้าน 4: [http://garnet.cpe.ku.ac.th/~jtf/435/hw04.pdf pdf] (กำหนดส่ง: บางเขน: 17 ธ.ค. ศรีราชา: 19 ธ.ค.)
 +
* การบ้านโปรแกรม 3: จะประกาศเร็ว ๆ นี้ ส่งหลังสอบกลางภาค
 +
 
 +
==คำบรรยายและแผ่นใส==
 +
เอกสารหลักจะใช้บันทึกคำบรรยายที่เตรียมโดยผู้สอน ประกอบกับสไลด์วิชา [http://www.stanford.edu/class/cs242/ Programming Languages] ของ [http://theory.stanford.edu/people/jcm/ John C. Mitchell]
 +
* แนะนำวิชา ([[media:204435-Lect00-intro.pdf|pdf]])
 +
* แนะนำภาษาโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน: Scheme (slides ของ JCM: [http://www.stanford.edu/class/cs242/slides/index.html Lisp]) (เอกสารประกอบคำบรรยาย (ไม่สมบูรณ์): [http://garnet.cpe.ku.ac.th/~jtf/435/lect02-scheme.pdf pdf])
 +
** บทความ: [http://paulgraham.com/rootsoflisp.html Roots of Lisp] โดย Paul Graham
 +
* พื้นฐาน: การแปลภาษาโปรแกรม แลมบ์ดาแคลคูลัส (slides ของ JCM: [http://www.stanford.edu/class/cs242/slides/lambda.ppt ppt], [http://www.stanford.edu/class/cs242/slides/lambda.pdf pdf]) (เอกสารประกอบคำบรรยาย (ไม่สมบูรณ์): [http://garnet.cpe.ku.ac.th/~jtf/435/lect03-lambda.pdf pdf])
 +
* ภาษาตระกูล Algo และ ML ([http://www.stanford.edu/class/cs242/slides/index.html slides] ของ JCM)
 +
* ระบบแบบชนิดข้อมูล (type system) และการอนุมานแบบชนิดข้อมูล ([http://www.stanford.edu/class/cs242/slides/index.html slides] ของ JCM)
 +
* ขอบเขตตัวแปรและการจัดการ ([http://www.stanford.edu/class/cs242/slides/index.html slides] ของ JCM) (เอกสารประกอบคำบรรยาย (ไม่สมบูรณ์): [http://garnet.cpe.ku.ac.th/~jtf/435/lect06-scope.pdf pdf])
 +
* โครงสร้างควบคุม ([http://www.stanford.edu/class/cs242/slides/index.html slides] ของ JCM)
 +
* โมดูลและการโปรแกรมเชิงวัตถุ ([http://www.stanford.edu/class/cs242/slides/index.html slides] ของ JCM)
 +
* การโปรแกรมเชิงวัตถุ: Simula, Smalltalk ([http://www.stanford.edu/class/cs242/slides/index.html slides] ของ JCM)
 +
* การโปรแกรมเชิงวัตถุ: C++, Java, C# ([http://www.stanford.edu/class/cs242/slides/index.html slides] ของ JCM)
 +
* ภาษาเชิงพลวัติ (dynamic languages): Ruby และ Python
 +
* กรอบงานการโปรแกรม: Ruby on Rails, (Seaside)
 +
* Meta-programming
 +
* การทำงานพร้อมกัน: Java และ Erlang
 +
* การวิเคราะห์เชิงสถิตย์และเครื่องมือ (static analysis)
 +
 
 +
==ซอฟต์แวร์และเอกสารเพิ่มเติม==
 +
===Scheme===
 +
* หน้าอ้างอิงของภาษา [http://www-swiss.ai.mit.edu/projects/scheme/ Scheme]
 +
* ระบบของ Scheme ที่ใช้ [http://www.plt-scheme.org/software/drscheme/ DrScheme]
 +
** ระบบอื่น ๆ เช่น: [http://kaolin.unice.fr/STk STk], [http://www.gnu.org/software/mit-scheme/ MIT/GNU Scheme]
 +
* เอกสารเกี่ยวกับ Scheme
 +
** [http://www-swiss.ai.mit.edu/~jaffer/r5rs_toc.html ข้อกำหนดภาษา]
 +
** [http://www.schemers.org/ Schemer.org]
 +
** [http://www.cs.wcu.edu/~bubak/scheme/ Scheme Tutorial]
 +
** [http://www.ccs.neu.edu/home/dorai/t-y-scheme/t-y-scheme.html Teach Yourself Scheme in Fixnum Days]
 +
===ML===
 +
* ระบบของภาษา ML ที่ใช้ [http://www.smlnj.org/ Standard ML of New Jersey]
 +
* เอกสารเกี่ยวกับ ML
 +
** [http://www.dcs.napier.ac.uk/course-notes/sml/manual.html A Gentle Introduction to ML]
 +
** [http://www.dcs.ed.ac.uk/home/stg/NOTES/ Programming in Standard ML'97: An On-line Tutorial]
 +
** [http://www.cs.cmu.edu/~rwh/introsml/ Programming in Standard ML]
 +
* ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง: ภาษา [http://caml.inria.fr/ Caml], [http://research.microsoft.com/fsharp/ F#]
 +
===Python===
 +
* [http://www.python.org/ หน้าหลัก]
 +
* [http://docs.python.org/tut/tut.html Tutorial]
 +
===Ruby===
 +
* [http://www.ruby-lang.org/en/ หน้าหลัก]
 +
* เอกสาร:
 +
** [http://www.ruby-doc.org/docs/ProgrammingRuby/ Programming Ruby]
 +
** [http://qa.poignantguide.net/ Why’s (Poignant) Guide to Ruby] (แนวมาก)
 +
===Smalltalk===
 +
* [http://www.smalltalk.org/main/ หน้าหลัก]
 +
** [http://users.ipa.net/~dwighth/smalltalk/byte_aug81/design_principles_behind_smalltalk.html Design Principles Behind Smalltalk] โดย Daniel H. H. Ingalls
 +
** [http://www.eli.sdsu.edu/courses/spring01/cs635/readingSmalltalk.pdf I can Read C++ and Java But I can't Read Smalltalk] โดย Wilf LaLonde
 +
** [http://www.iam.unibe.ch/~ducasse/FreeBooks.html หนังสือ Smalltalk on-line]
 +
* [http://www.squeak.org/ Squeak] เป็น Smalltalk environment ที่ใช้เรียน
 +
** เอกสาร: [http://www.iam.unibe.ch/~scg/SBE/ An open book: Squeak by Example], [http://wiki.squeak.org/squeak Swiki]
 +
 
 +
==ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง==
 +
* [http://www.stanford.edu/class/cs242/ วิชาภาษาโปรแกรมที่ Stanford]
 +
* [http://www.cpe.ku.ac.th/~jtf/204435-49/ เว็บวิชาเดียวกันภาคการศึกษา 2549]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 06:19, 7 มิถุนายน 2556

หน้านี้เป็นหน้ารายวิชาของวิชามโนทัศน์ภาษาโปรแกรม

ผู้สอน: จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

ประกาศ

  • เกรดและคะแนนดูได้ที่หน้าห้องครับ
  • ข้อสอบปลายภาค
    • อนุญาตให้เปิดเอกสารได้
    • จะเน้นมโนทัศน์ (concept) ที่เรียนหลังสอบกลางภาค เช่น แนวคิดเกี่ยวกับโมดูล, การโปรแกรมเชิงวัตถุ, การเปรียบเทียบภาษาเชิงวัตถุต่าง ๆ การโปรแกรมแบบทำงานพร้อมกัน เป็นต้น
    • อย่างไรก็ตามในข้อสอบอาจกล่าวถึง หรืออ้างถึง หรือให้วิเคราะห์ แนวคิดที่เรียนมาทั้งหมดได้
    • ข้อสอบปลายภาคจะไม่เน้นให้เขียนโปรแกรม และไม่เน้นภาษาโปรแกรมที่ทดลอง เช่น Ruby หรือ Python อย่างไรก็ตาม อาจมีการถามแนวคิดต่าง ๆ โดยยกตัวอย่างจากภาษาเหล่านี้ด้วย ยกตัวอย่างเช่น ข้อสอบอาจถาม
จงพิจารณาโปรแกรมภาษา Ruby ที่หาผลรวมของตัวเลขใน array (หรือเรียกว่า list ในภาษาอื่น) ต่อไปนี้
  l = [1,2,3,4,5,6]
  sum = 0
  l.each do |x|
    sum += x
  end
โครงสร้าง do .. end เรียกว่า block ในโปรแกรมข้างต้น ใน block ดังกล่าวเราประกาศให้รับค่าเข้ามาทางตัวแปร x 
แล้วนำมาบวกกับตัวแปร sum โดย method each ของคลาส array จะนำข้อมูลแต่ละตัวมาป้อนให้กับ block นี้
จากตัวอย่างดังกล่าว จงอธิบายว่า เพราะเหตุใด block จึงต้องเป็น closure

การเตรียมตัวก่อนเข้าเรียน

ในส่วนนี้จะระบุรายละเอียดของซอฟต์แวร์ที่นิสิตต้องติดตั้งก่อนเข้าเรียนแต่ละครั้ง โดยแยกเป็นหมู่เรียนที่วิทยาเขตบางเขน และวิทยาเขตศรีราชา

  • สัปดาห์ที่ 13
    • จะทดลองเขียนโปรแกรมแบบทำงานพร้อมกัน ด้วย Stackless Python ให้ติดตั้งมาก่อน เพื่อความสะดวกแนะนำให้ใช้ ตัวติดตั้งสำเร็จรูป ที่มีให้เฉพาะบน Windows ในกรณีของ Linux ต้องคอมไพล์เอง

รายละเอียดวิชา

ในมุมมองที่กว้างที่สุด ภาษาโปรแกรมเป็นเครื่องมือสำหรับอธิบายการคำนวณ (computation) อย่างไรก็ตามมุมมองของการคำนวณนั้นมีได้หลากหลาย เป็นจุดกำเนิดที่ทำให้เกิดภาษาโปรแกรมที่วางอยู่บนกระบวนทัศน์ (paradigm) ที่แตกต่างกันจำนวนมากมาย

วิชานี้ มีเป้าหมายที่จะศึกษาแนวคิดต่าง ๆ ที่มีใช้ในภาษาโปรแกรมสมัยใหม่ เพื่อให้เข้าใจกระบวนการทำงาน ขีดจำกัด และผลกระทบที่มีต่อกระบวนการคิดวิเคราะห์ของผู้ใช้

เราจะสนใจแนวคิดพื้นฐาน พร้อมกับเน้นกระบวนทัศน์ภาษาโปรแกรมที่สำคัญได้แก่การโปรแกรมเชิงฟังก์ชันและการโปรแกรมเชิงวัตถุ นอกจากนี้ยังจะให้ความสำคัญเกี่ยวกับแนวคิดของภาษาเชิงพลวัติที่ทวีความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ

นอกจากจะศึกษาแนวคิดที่สำคัญแล้ว ในวิชานี้จะมีการให้นิสิตได้ทดลองเขียนโปรแกรมด้วยภาษาและกรอบงาน (framework) ต่าง ๆ เพื่อเพิ่มความเข้าใจอีกด้วย ตัวอย่างภาษาที่จะได้ทดลอง เช่น Scheme, ML, Smalltalk, Java, C#, Ruby

การบ้าน

การส่งการบ้านที่เป็นโปรแกรม ให้ส่งเป็นจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ไปที่ e-mail ของอาจารย์ผู้สอน (ดูจาก [1])

  • การบ้าน 1: ให้ทำแบบฝึกหัดในเอกสาร Scheme ข้อที่ 1, 2, 6, 8, 10 และ 11 (กำหนดส่ง. บางเขน: 12 พ.ย. ศรีราชา: 28 พ.ย.) (เฉลย)
  • การบ้าน 2: pdf (กำหนดส่ง: บางเขน: 30 พ.ย. ศรีราชา: 12 ธ.ค.)
  • การบ้าน 3: pdf (กำหนดส่ง: บางเขน: 11 ธ.ค. ศรีราชา: 12 ธ.ค.)
  • การบ้าน 4: pdf (กำหนดส่ง: บางเขน: 17 ธ.ค. ศรีราชา: 19 ธ.ค.)
  • การบ้านโปรแกรม 3: จะประกาศเร็ว ๆ นี้ ส่งหลังสอบกลางภาค

คำบรรยายและแผ่นใส

เอกสารหลักจะใช้บันทึกคำบรรยายที่เตรียมโดยผู้สอน ประกอบกับสไลด์วิชา Programming Languages ของ John C. Mitchell

  • แนะนำวิชา (pdf)
  • แนะนำภาษาโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน: Scheme (slides ของ JCM: Lisp) (เอกสารประกอบคำบรรยาย (ไม่สมบูรณ์): pdf)
  • พื้นฐาน: การแปลภาษาโปรแกรม แลมบ์ดาแคลคูลัส (slides ของ JCM: ppt, pdf) (เอกสารประกอบคำบรรยาย (ไม่สมบูรณ์): pdf)
  • ภาษาตระกูล Algo และ ML (slides ของ JCM)
  • ระบบแบบชนิดข้อมูล (type system) และการอนุมานแบบชนิดข้อมูล (slides ของ JCM)
  • ขอบเขตตัวแปรและการจัดการ (slides ของ JCM) (เอกสารประกอบคำบรรยาย (ไม่สมบูรณ์): pdf)
  • โครงสร้างควบคุม (slides ของ JCM)
  • โมดูลและการโปรแกรมเชิงวัตถุ (slides ของ JCM)
  • การโปรแกรมเชิงวัตถุ: Simula, Smalltalk (slides ของ JCM)
  • การโปรแกรมเชิงวัตถุ: C++, Java, C# (slides ของ JCM)
  • ภาษาเชิงพลวัติ (dynamic languages): Ruby และ Python
  • กรอบงานการโปรแกรม: Ruby on Rails, (Seaside)
  • Meta-programming
  • การทำงานพร้อมกัน: Java และ Erlang
  • การวิเคราะห์เชิงสถิตย์และเครื่องมือ (static analysis)

ซอฟต์แวร์และเอกสารเพิ่มเติม

Scheme

ML

Python

Ruby

Smalltalk

ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง