ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ร่างหัวข้อวิชา 204111"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 9: แถว 9:
 
#* แล็บ: ให้ผู้เรียนฝึกวาดรูปโดยใช้เต่าแบบโต้ตอบ (เต่าตัวเดียว)
 
#* แล็บ: ให้ผู้เรียนฝึกวาดรูปโดยใช้เต่าแบบโต้ตอบ (เต่าตัวเดียว)
 
#* ปิดแล็บด้วยการสาธิตว่าเราสร้างคำสั่งใหม่ได้
 
#* ปิดแล็บด้วยการสาธิตว่าเราสร้างคำสั่งใหม่ได้
# แนะนำภาษาไพธอน: คำสั่ง ตัวแปร ค่าคงที่ นิพจน์ และฟังก์ชัน
+
# แนะนำภาษาไพธอน: คำสั่ง ตัวแปร ค่าคงที่ นิพจน์ ฟังก์ชันที่มีอยู่แล้ว
#* แนว+แล็บ: แสดงการคำนวณทางคณิตศาสตร์/วิทยาศาสตร์ แบบโต้ตอบ
+
#* แนว+แล็บ: แสดงการคำนวณทางคณิตศาสตร์/วิทยาศาสตร์ แบบโต้ตอบ การใช้งานมอดูล math
 
#** เปลี่ยนหน่วยอุณหภูมิ
 
#** เปลี่ยนหน่วยอุณหภูมิ
 
#** แก้โจทย์ปัญหาแบบบัญญัติไตรยาง
 
#** แก้โจทย์ปัญหาแบบบัญญัติไตรยาง
แถว 22: แถว 22:
 
#** การรับพารามิเตอร์เข้ามาในฟังก์ชัน
 
#** การรับพารามิเตอร์เข้ามาในฟังก์ชัน
 
#** ขอบเขตของตัวแปรในฟังก์ชัน และตัวแปรแบบโกลบอล
 
#** ขอบเขตของตัวแปรในฟังก์ชัน และตัวแปรแบบโกลบอล
# หลักการคิดเป็นลำดับขั้นตอนและภาษาเชิงวัตถุ: Turtle Graphics
 
 
# คำสั่งเงื่อนไขและคำสั่งวนซ้ำ
 
# คำสั่งเงื่อนไขและคำสั่งวนซ้ำ
 +
#* แนว:
 +
#** พิจารณาโจทย์ที่ต้องใช้คำสั่งเงื่อนไขและคำสั่งวนซ้ำ
 +
#** คำสั่งวนซ้ำครอบคลุมเพียงแค่ while loop
 +
#** ยังไม่ต้องมีลูปสองชั้น
 
# การรวมข้อมูลเป็นกลุ่ม: ลิสต์/อาร์เรย์
 
# การรวมข้อมูลเป็นกลุ่ม: ลิสต์/อาร์เรย์
 +
# คำสั่งวนซ้ำที่ใช้กับลิสต์
 +
# ภาษาเชิงวัตถุ: Turtle Graphics
  
 
'''ส่วน C#'''
 
'''ส่วน C#'''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:46, 7 ตุลาคม 2552

แนวทางการจัดหัวข้อวิชา 204111 สำหรับปีการศึกษา 2553

ใช้โจทย์นำเนื้อหา

ส่วน Python

  1. แนะนำคอมพิวเตอร์และการโปรแกรม
    • แนว: สาธิตการเขียนกราฟ และเต่า
    • แล็บ: ให้ผู้เรียนฝึกวาดรูปโดยใช้เต่าแบบโต้ตอบ (เต่าตัวเดียว)
    • ปิดแล็บด้วยการสาธิตว่าเราสร้างคำสั่งใหม่ได้
  2. แนะนำภาษาไพธอน: คำสั่ง ตัวแปร ค่าคงที่ นิพจน์ ฟังก์ชันที่มีอยู่แล้ว
    • แนว+แล็บ: แสดงการคำนวณทางคณิตศาสตร์/วิทยาศาสตร์ แบบโต้ตอบ การใช้งานมอดูล math
      • เปลี่ยนหน่วยอุณหภูมิ
      • แก้โจทย์ปัญหาแบบบัญญัติไตรยาง
      • เปลี่ยนองศาเป็นเรเดียน โดยสร้างนิยามให้เด็กลอกตาม
      • แตกแรงตามแกน x/y
      • สมการการเคลื่อนที่ โปรเจ็คไตล์ ความเร่ง ความเร็ว
  3. การนิยามคำสั่งใหม่ด้วยโปรแกรมย่อยและฟังก์ชัน
    • แนว: ชี้ให้ผู้เรียนเห็นถึงการคิดปัญหาเชิงมอดูล และการสอนให้คอมพิวเตอร์รู้จักคำสั่งใหม่
    • เนื้อหาที่ต้องครอบคลุม
      • การให้ฟังก์ชันคืนค่า
      • การรับพารามิเตอร์เข้ามาในฟังก์ชัน
      • ขอบเขตของตัวแปรในฟังก์ชัน และตัวแปรแบบโกลบอล
  4. คำสั่งเงื่อนไขและคำสั่งวนซ้ำ
    • แนว:
      • พิจารณาโจทย์ที่ต้องใช้คำสั่งเงื่อนไขและคำสั่งวนซ้ำ
      • คำสั่งวนซ้ำครอบคลุมเพียงแค่ while loop
      • ยังไม่ต้องมีลูปสองชั้น
  5. การรวมข้อมูลเป็นกลุ่ม: ลิสต์/อาร์เรย์
  6. คำสั่งวนซ้ำที่ใช้กับลิสต์
  7. ภาษาเชิงวัตถุ: Turtle Graphics

ส่วน C#

  1. แนะนำภาษา C# และเครื่องมือพัฒนาโปรแกรม
  2. ชนิดของตัวแปร การประกาศตัวแปรและค่าคงที่ การควบคุมการไหลของโปรแกรม
  3. เมท็อดและการโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
  4. การรวมข้อมูลเป็นกลุ่มโดยใช้ struct และ class
  5. การพัฒนาโปรแกรมแบบ GUI
  6. ไฟล์
  7. คอเล็คชันคลาส