|
|
แถว 87: |
แถว 87: |
| <td align="center"><math>\geq \,</math></td> | | <td align="center"><math>\geq \,</math></td> |
| <td align="left"><math> a_1^{1/(n-1)} a_2^{1/(n-1)} \cdots a_{1-1}^{1/(n-1)} \,</math></td> | | <td align="left"><math> a_1^{1/(n-1)} a_2^{1/(n-1)} \cdots a_{1-1}^{1/(n-1)} \,</math></td> |
| + | </tr> |
| + | <tr> |
| + | <td align="right"><math>\frac{a_1 + a_2 + \dotsb + a_{n-1}}{n} + \frac{(a_1 a_2 \cdots a_{n-1})^{1/(n-1)}}{n} \,</math></td> |
| + | <td align="center"><math>\geq \,</math></td> |
| + | <td align="left"><math> (a_1 a_2 \cdots a_{1-1})^{1/(n-1)} \,</math></td> |
| + | </tr> |
| + | <tr> |
| + | <td align="right"><math>\frac{a_1 + a_2 + \dotsb + a_{n-1}}{n} \,</math></td> |
| + | <td align="center"><math>\geq \,</math></td> |
| + | <td align="left"><math> \frac{n-1}{n}(a_1 a_2 \cdots a_{1-1})^{1/(n-1)} \,</math></td> |
| + | </tr> |
| + | <tr> |
| + | <td align="right"><math>\frac{a_1 + a_2 + \dotsb + a_{n-1}}{n-1} \,</math></td> |
| + | <td align="center"><math>\geq \,</math></td> |
| + | <td align="left"><math>(a_1 a_2 \cdots a_{1-1})^{1/(n-1)} \,</math></td> |
| </tr> | | </tr> |
| </table> | | </table> |
| + | |
| + | |
| + | ดังนั้นเราจึงสรุปได้ว่า |
| + | |
| + | '''ทฤษฏีบท ([http://en.wikipedia.org/wiki/Inequality_of_arithmetic_and_geometric_means อสมการ AM-GM]):''' ถ้า <math>a_1, a_2, \ldots, a_n \,</math> เป็นจำนวนจริงบวกใดๆ แล้ว <math>\frac{a_1 + a_2 + \dotsb + a_n}{n} \geq (a_1 a_2 \cdots a_n)^{1/n}</math> |
การพิสูจน์ข้อความในโจทย์นี้เราจะใช้เทคนิคการพิสูจน์ที่เรียกว่า backward induction (induction กลับหลัง) ซึ่งมีโครงร่างดังต่อไปนี้
สมมติให้ P(n) เป็นข้อความที่เรา้ต้องการพิสูจน์ ในกรณีนี้คือข้อความ
- เราจะแสดงว่า P(n) เป็นจริงสำหรับ n ซึ่งมีค่าเท่ากับ เมื่อ k เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นลบ กล่าวคือเราจะแสดงว่า P(1), P(2), P(4), P(8), ...
- เสร็จแล้วเราจะแสดงว่าถ้า P(n) เป็นจริง แล้ว P(n-1) จะเป็นจริงด้วย
ทำไมเมื่อแสดงว่าข้อความข้างบนสองข้อความเป็นจริงแล้ว เราถึงสามารถสรุปได้ว่า P(n) เป็นจริงสำหรับจำนวนเต็มบวก n ทั้งหมดได้?
สังเกตว่าเราแสดงว่า P(8) เป็นจริงก่อน แล้วถ้า P(8) เป็นจริง เราจะได้ว่า P(7) เป็นจริงด้วย เมื่อ P(7) เป็นจริง P(6) ก็จะเป็นจริง ซึ่งส่งผลให้ P(5) เป็นจริงด้วย (เราไม่ต้องแสดงว่า P(4) เป็นจริงอีกรอบเนื่องจากเราได้เคยแสดงว่ามันเป็นจริงมาก่อนหน้านี้แล้ว)
เช่นเดียวกับ สำหรับจำนวนเต็ม n ใดๆ ถ้า n ไม่อยู่ในรูป ก็จะมีจำนวนเต็ม k ที่ทำให้ เสมอ ดังนั้นเราสามารถสรุปได้ว่า P(n) เป็นจริงเนื่องจาก เป็นจริงนั่นเอง
การพิสูจน์ของเราจะใช้ lemma ต่อไปนี้เป็นเครื่องมือที่สำคัญ
lemma 1: ถ้า a และ b เป็นจำนวนเต็มบวกใดๆ แล้ว
พิสูจน์ (lemma 1): ให้ a และ b เป็นจำนวนเต็มบวกใดๆ เราได้ว่า
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ต่อไปเราจะพิสูจน์ว่า เป็นจริืงสำหรับ เมื่อ เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ
lemma 2: ให้ k เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบใดๆ และให้ เป็นจำนวนจริงบวกใดๆ แล้ว
พิสูจน์ (lemma 2): (Base Case) ในกรณีนี้ k มีค่าเท่ากับ 0 และเราจะได้ว่า
(Induction Case) ให้ k เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบใดๆ สมมติว่า สำหรับจำนวนจริืงบวก ใดๆ
ให้ เป็นจำนวนเต็มบวก ใดๆ กำหนดให้
จากสมมติฐานที่ตั้งไว้ เราได้ว่า และ
จาก lemma 1 เราได้ว่า แต่จากสมมติฐาน เราทราบว่า ดังนั้น
นอกจากนี้เรายังทราบอีกว่า
และ
ดังนั้นเราจึงสามารถสรุปได้ว่า เป็นจริงสำหรับจำนวนเต็ม k ที่ไม่เป็นลบทุกจำนวน
ต่อไปเราจะพิสูจน์ขั้น "induction กลับหลัง"
lemma 3: ให้ เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1 และให้ เป็นจำนวนจริงบวกใดๆ ถ้า แล้ว
พิสูจน์ (lemma 3): เนื่อกจากอสมการ เราสามารถกำหนดใ้ห้ และเราจะได้ว่า
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ดังนั้นเราจึงสรุปได้ว่า
ทฤษฏีบท (อสมการ AM-GM): ถ้า เป็นจำนวนจริงบวกใดๆ แล้ว