ผลต่างระหว่างรุ่นของ "204111:lab2"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 32: แถว 32:
  
 
* <math>2\pi\cdot 30</math>
 
* <math>2\pi\cdot 30</math>
 +
 
* <math>1+\frac{1}{1 + \frac{1}{1 + \frac{1}{4}}}</math>
 
* <math>1+\frac{1}{1 + \frac{1}{1 + \frac{1}{4}}}</math>
 +
 
* <math>50\cdot \sin 60^\circ</math>  (หมายเหตุ:อย่าลืมว่าฟังก์ชัน <tt>math.sin</tt> รับมุมเป็นหน่วยเรเดียน)
 
* <math>50\cdot \sin 60^\circ</math>  (หมายเหตุ:อย่าลืมว่าฟังก์ชัน <tt>math.sin</tt> รับมุมเป็นหน่วยเรเดียน)
 +
 
* <math>\frac{1+\sqrt{5}}{2}</math>
 
* <math>\frac{1+\sqrt{5}}{2}</math>
  

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:03, 7 มิถุนายน 2553

ปฏิบัติการที่สองของวิชา 20411 ตามแผนร่างหัวข้อวิชา 204111 มีเนื้อหาดังนี้

  • ตัวแปรและการใช้งาน
  • นิพจน์ทางคณิตศาสตร์, ลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการ
  • คำสั่ง input, คำสั่ง print, การแปลงชนิดข้อมูล (พื้นฐาน)
  • การใช้คำสั่งคณิตศาสตร์

นิพจน์คณิตศาสตร์

ทดลองกับ Python Shell

ในส่วนแรกเราจะทดลองพิมพ์นิพจน์เหล่านี้เพื่อคำนวณค่าใน Python Shell สำหรับแต่ละนิพจน์ให้บันทึกค่าที่ Python คำนวณได้ และให้ระบุด้วยว่าผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็ม (int) หรือจำนวนจริง (float)

10 * 20 + 30 * 40
10 * (20 + 30) * 40
10 / 5 * 30
10 / (5*30)
10 % 2
30 + 17 % 3

นิพจน์และฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์

ก่อนจะทำงานต่อ ให้สั่ง

import math

เพื่อประกาศใช้โมดูล math เสียก่อน รายละเอียดของฟังก์ชันจากโมดูล math สามารถดูได้จากเอกสารประกอบการสอน

เขียนนิพจน์เหล่านี้ให้เป็นนิพจน์เดียวกันใน Python พร้อมทั้งบันทึกค่าที่คำนวณได้

  • (หมายเหตุ:อย่าลืมว่าฟังก์ชัน math.sin รับมุมเป็นหน่วยเรเดียน)

ให้ และนิยามให้

  • เขียนนิพจน์ที่คำนวณค่า (โดยเขียนให้ใช้ตัวแปร g ด้วย)