ผลต่างระหว่างรุ่นของ "418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการพิสูจน์ II"

จาก Theory Wiki
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 14 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
แถว 16: แถว 16:
 
== ข้อ 2 ==
 
== ข้อ 2 ==
 
จงแสดงว่าถ้าเราวาดเส้นตรง n เส้นลงบนระนาบ โดยที่เส้นตรงนี้ไม่ีเส้นตรงสองเส้นใดๆ ขนานกัน และไม่มีเส้นตรงสามเส้นใดๆ ตัดกันที่จุดจุดเดียวกันแล้ว เส้นตรงทั้ง n แล้วเหล่านี้จะแบ่งระนาบออกเป็น <math>\frac{n^2 + n + 2}{2}</math> ส่วน
 
จงแสดงว่าถ้าเราวาดเส้นตรง n เส้นลงบนระนาบ โดยที่เส้นตรงนี้ไม่ีเส้นตรงสองเส้นใดๆ ขนานกัน และไม่มีเส้นตรงสามเส้นใดๆ ตัดกันที่จุดจุดเดียวกันแล้ว เส้นตรงทั้ง n แล้วเหล่านี้จะแบ่งระนาบออกเป็น <math>\frac{n^2 + n + 2}{2}</math> ส่วน
 +
 +
[[418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการพิสูจน์ II/เฉลยข้อ 2|เฉลย]]
  
 
== ข้อ 3 ==
 
== ข้อ 3 ==
 
ถ้า <math>a_1, a_2, a_3, \ldots, a_n</math> เป็นจำนวนจริงบวก จงแสดงว่า '''ค่าเฉลี่ยเลขคณิต''' <math>\frac{a_1 + a_2 + a_3 + \cdots + a_n}{n}</math> มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ '''ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต''' <math>\sqrt[n]{a_1a_2a_3\ldots a_n}</math> เสมอ
 
ถ้า <math>a_1, a_2, a_3, \ldots, a_n</math> เป็นจำนวนจริงบวก จงแสดงว่า '''ค่าเฉลี่ยเลขคณิต''' <math>\frac{a_1 + a_2 + a_3 + \cdots + a_n}{n}</math> มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ '''ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต''' <math>\sqrt[n]{a_1a_2a_3\ldots a_n}</math> เสมอ
 +
 +
[[418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการพิสูจน์ II/เฉลยข้อ 3|เฉลย]]
  
 
== ข้อ 4 ==
 
== ข้อ 4 ==
แถว 31: แถว 35:
 
== ข้อ 5 ==
 
== ข้อ 5 ==
 
ให้ <math>f_n</math> เป็นจำนวนฟิโบนักชีตัวที่ n
 
ให้ <math>f_n</math> เป็นจำนวนฟิโบนักชีตัวที่ n
# จงแสดงว่า <math>f_1^2 + f_2^2 + f_3^2 + \ldots + f_n^2 = f_nf_{n+1}</math> เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก
+
# จงแสดงว่า <math>f_1^2 + f_2^2 + f_3^2 + \dotsb + f_n^2 = f_nf_{n+1}</math> เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก
 
# จงแสดงว่า <math>f_1 + f_3 + \cdots + f_{2n-1} = f_{2n}</math> เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก
 
# จงแสดงว่า <math>f_1 + f_3 + \cdots + f_{2n-1} = f_{2n}</math> เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก
 
# จงแสดงว่า <math>f_{n+1}f_{n-1} - f_n^2 = (-1)^n</math> เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก
 
# จงแสดงว่า <math>f_{n+1}f_{n-1} - f_n^2 = (-1)^n</math> เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก
แถว 42: แถว 46:
 
# จงพิูสูจน์ว่า <math>\max(a_1 + b_1, a_2 + b_2, \ldots, a_n+b_n) \leq \max(a_1, a_2, \ldots, a_n) + \max(b_1, b_2, \ldots, b_n)</math>
 
# จงพิูสูจน์ว่า <math>\max(a_1 + b_1, a_2 + b_2, \ldots, a_n+b_n) \leq \max(a_1, a_2, \ldots, a_n) + \max(b_1, b_2, \ldots, b_n)</math>
 
# จงพิูสูจน์ว่า <math>\min(a_1 + b_1, a_2 + b_2, \ldots, a_n+b_n) \geq \min(a_1, a_2, \ldots, a_n) + \min(b_1, b_2, \ldots, b_n)</math>
 
# จงพิูสูจน์ว่า <math>\min(a_1 + b_1, a_2 + b_2, \ldots, a_n+b_n) \geq \min(a_1, a_2, \ldots, a_n) + \min(b_1, b_2, \ldots, b_n)</math>
 +
 +
[[418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการพิสูจน์ II/เฉลยข้อ 6|เฉลย]]
  
 
== ข้อ 7 ==
 
== ข้อ 7 ==
แถว 50: แถว 56:
 
# เซตของจำนวนเต็มที่คอนกรูเอนซ์กับ 2 มอดูโล 3
 
# เซตของจำนวนเต็มที่คอนกรูเอนซ์กับ 2 มอดูโล 3
 
# เซตของจำนวนเต็มที่ 5 หารไม่ลงตัว
 
# เซตของจำนวนเต็มที่ 5 หารไม่ลงตัว
 
  
 
[[418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการพิสูจน์ II/เฉลยข้อ 7|เฉลย]]
 
[[418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการพิสูจน์ II/เฉลยข้อ 7|เฉลย]]
แถว 58: แถว 63:
 
# จงให้นิยามแบบเวียนบังเกิดของสตริงที่เป็นพาลินโดรม (สตริงที่เป็นพาลินโดรมคือสตริงที่มีค่าเท่ากับสตริงเขียนกลับของตัวมันเอง เช่น abcba หรือ abba เป็นต้น)
 
# จงให้นิยามแบบเวียนบังเกิดของสตริงที่เป็นพาลินโดรม (สตริงที่เป็นพาลินโดรมคือสตริงที่มีค่าเท่ากับสตริงเขียนกลับของตัวมันเอง เช่น abcba หรือ abba เป็นต้น)
 
# ให้ <math>x^R</math> แทนสตริงเขียนกลับของ <math>x</math> จงแสดงว่าสำหรับสตริง x และ y ใดๆ เราได้ว่า <math>(xy)^R = y^Rx^R</math>
 
# ให้ <math>x^R</math> แทนสตริงเขียนกลับของ <math>x</math> จงแสดงว่าสำหรับสตริง x และ y ใดๆ เราได้ว่า <math>(xy)^R = y^Rx^R</math>
 +
 +
[[418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการพิสูจน์ II/เฉลยข้อ 8|เฉลย]]
  
 
== ข้อ 9 ==
 
== ข้อ 9 ==
จงเขียนนิยามแบบเวียนบังเกิดของเซตของสตริงที่ประกอบตัวอักษร 0 หรือ 1 โดยมีเลข 0 มากกว่า 1
+
ให้ <math>T_0 = 2, T_1 = 3, T_2 = 6 \,</math> และสำหรับค่า <math>n \geq 3</math> ทุกค่า
 
+
: <math>T_n = (n+4)T_{n-1} - 4nT_{n-2} + (4n-8)T_{n-3} \,</math>
== ข้อ 10 ==
 
'''พาร์ทีชัน''' ของจำนวนเต็มบวก n คือวิธีการเขียน n เป็นผลบวกของจำนวนเต็มบวก เช่น 7 = 3 + 2 + 1 + 1 เป็นต้น ให้ <math>P_m</math> มีค่าเท่ากับจำนวนพาร์ทีชันที่แตกต่างกันของ m ทั้งหมด โดยที่ลำดับของจำนวนเต็มในผลบวกไม่มีผล (กล่าวคือ 3+1+2 ไม่แตกต่างกับ 1+2+3)  และให้ <math>P_{m,n}</math> เป็นจำนวนพาร์ทีชันของ m ที่จำนวนเต็มบวกที่เอามาบวกแต่ละจำนวนมีค่าไม่เกิน <math>n</math>
 
# จงแสดงว่า <math>P_{m,m} = m\,</math>
 
# จงแสดงว่านิยามแบบเวียนบังเกิดของ <math>P_{m,n}\,</math> ต่อไปนี้ถูกต้อง
 
#:<math>
 
P_m,n = \begin{cases}
 
1 & \mbox{if }m = 1\\
 
1 & \mbox{if }n = 1\\
 
P_{n,m} & \mbox{if }m < n\\
 
1 + P_{m,m-1} & \mbox{if }m = n > 1\\
 
P_{m,n-1} + P_{m-n,n} & \mbox{if }m > n > 1
 
\end{cases}
 
</math>
 
# จงหาค่าของ <math>P_5</math> และ <math>P_6</math>
 
 
 
== ข้อ 11 ==
 
ให้ <math>T_0 = 0, T_1 = 3, T_2 = 6 \,</math> และสำหรับค่า <math>n \geq 3</math> ทุกค่า
 
: <math>T_n = (n_4)T_{n-1} - 4nT_{n-2} + (4n-8)T_{n-3} \,</math>
 
 
ค่าของลำัดับนี้เทอมแรกๆ จำนวนหนึ่งได้แก่ 2, 3, 6, 14, 40, 152, 784, 5168, 40576, และ 363392
 
ค่าของลำัดับนี้เทอมแรกๆ จำนวนหนึ่งได้แก่ 2, 3, 6, 14, 40, 152, 784, 5168, 40576, และ 363392
 
จงหาสูตรของ <math>T_n \,</math> ในรูป <math>T_n = A_n+B_n \,</math> เมื่อ <math>\{ A_n \}\,</math> และ <math>\{ B_n \}\,</math> เป็นลำดับที่เราๆ รู้จักกันดี
 
จงหาสูตรของ <math>T_n \,</math> ในรูป <math>T_n = A_n+B_n \,</math> เมื่อ <math>\{ A_n \}\,</math> และ <math>\{ B_n \}\,</math> เป็นลำดับที่เราๆ รู้จักกันดี
 +
 +
[[418531 ภาคต้น 2552/โจทย์ปัญหาการพิสูจน์ II/เฉลยข้อ 9|เฉลย]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:55, 11 กรกฎาคม 2552

ข้อ 1

จงใช้การอุปนัยทางคณิตศาสตร์แก้ปัญหาต่อไปนี้

  1. จงหาสูตรอย่างง่ายของ และพิสูจน์ว่ามันถูกต้อง
  2. จงหาสูตรอย่างง่ายของ และพิสูจน์ว่ามันถูกต้อง
  3. จงแสดงว่า เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ
  4. จงแสดงว่า เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่ามากกว่า 4
  5. จงแสดงว่า เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่ามากกว่า 1
  6. จงแสดงว่า 6 หาร ลงตัวเมื่อ n เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ
  7. ให้ และ โดยที่ สำหรับ จงพิสูจน์ว่า
  8. จงแสดงว่า สำหรับจำนวนเต็ม n ที่มีค่าไม่เป็นลบ
  9. จงแสดงว่า 21 หาร ลงตัวเมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก
  10. จงแสดงว่า

เฉลย

ข้อ 2

จงแสดงว่าถ้าเราวาดเส้นตรง n เส้นลงบนระนาบ โดยที่เส้นตรงนี้ไม่ีเส้นตรงสองเส้นใดๆ ขนานกัน และไม่มีเส้นตรงสามเส้นใดๆ ตัดกันที่จุดจุดเดียวกันแล้ว เส้นตรงทั้ง n แล้วเหล่านี้จะแบ่งระนาบออกเป็น ส่วน

เฉลย

ข้อ 3

ถ้า เป็นจำนวนจริงบวก จงแสดงว่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต เสมอ

เฉลย

ข้อ 4

จงเขียนนิยามแบบเวียนบังเกิดของลำดับ โดยที่ เมื่อ

เฉลย

ข้อ 5

ให้ เป็นจำนวนฟิโบนักชีตัวที่ n

  1. จงแสดงว่า เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก
  2. จงแสดงว่า เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก
  3. จงแสดงว่า เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก

เฉลย

ข้อ 6

  1. จงให้นิยามแบบเวียนบังเกิดของฟังก์ชัน และ ซึ่งมีค่าเท่ากับค่าที่มากที่สุดและค่าที่น้อยที่สุดของจำนวนจริง ตามลำดับ
  2. จงพิสูจน์ว่า
  3. จงพิูสูจน์ว่า
  4. จงพิูสูจน์ว่า

เฉลย

ข้อ 7

จงให้นิยามแบบเวียนบังเกิดของเซตต่อไปนี้

  1. เซตของจำนวนเต็มคู่
  2. เซตของจำนวนเต็มบวกที่มีค่าเท่ากับ เมื่อ k เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ
  3. เซตของพหุนามในตัวแปร x ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม
  4. เซตของจำนวนเต็มที่คอนกรูเอนซ์กับ 2 มอดูโล 3
  5. เซตของจำนวนเต็มที่ 5 หารไม่ลงตัว

เฉลย

ข้อ 8

  1. จงให้นิยามแบบเวียนบังเกิดของสตริงเขียนกลับ (สตริงเขียนกลับของสตริงหนึ่งๆ คือสตริงที่ได้จากการเขียนสตริงนั้นจากหลังไปหน้า เช่น สตริงเขียนกลับของ abc คือ cba)
  2. จงให้นิยามแบบเวียนบังเกิดของสตริงที่เป็นพาลินโดรม (สตริงที่เป็นพาลินโดรมคือสตริงที่มีค่าเท่ากับสตริงเขียนกลับของตัวมันเอง เช่น abcba หรือ abba เป็นต้น)
  3. ให้ แทนสตริงเขียนกลับของ จงแสดงว่าสำหรับสตริง x และ y ใดๆ เราได้ว่า

เฉลย

ข้อ 9

ให้ และสำหรับค่า ทุกค่า

ค่าของลำัดับนี้เทอมแรกๆ จำนวนหนึ่งได้แก่ 2, 3, 6, 14, 40, 152, 784, 5168, 40576, และ 363392 จงหาสูตรของ ในรูป เมื่อ และ เป็นลำดับที่เราๆ รู้จักกันดี

เฉลย