ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Sgt/lecture6"
Tanee (คุย | มีส่วนร่วม) |
Tanee (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
แถว 23: | แถว 23: | ||
และเพื่อให้เข้าใกล้การใช้งานจริงมากยิ่งขึ้น เราจะนิยามเวคเตอร์ <math>i_{ext}</math> โดย ค่าของเวคเตอร์นี้ที่โหนดใดๆ | และเพื่อให้เข้าใกล้การใช้งานจริงมากยิ่งขึ้น เราจะนิยามเวคเตอร์ <math>i_{ext}</math> โดย ค่าของเวคเตอร์นี้ที่โหนดใดๆ | ||
หมายถึงค่าของกระแส ที่ไหลเข้า/ออก จากกราฟ โดยผ่านโหนดนั้นๆ | หมายถึงค่าของกระแส ที่ไหลเข้า/ออก จากกราฟ โดยผ่านโหนดนั้นๆ | ||
+ | |||
+ | จะเห็นว่า <math>i_{ext} = U^Ti = U^TWUv</math> ซึ่ง laplacian ของ G นั้น มีค่าดังนี้ | ||
+ | |||
+ | <math>L_G = U^TWU</math> จึงสามารถเขียนได้ในรูป <math>i_{ext} = L_Gv</math> |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:34, 21 เมษายน 2558
บันทึกคำบรรยายวิชา Spectral graph theory นี้ เป็นบันทึกที่นิสิตเขียนขึ้น เนื้อหาโดยมากยังไม่ผ่านการตรวจสอบอย่างละเอียด การนำไปใช้ควรระมัดระวัง
สัปดาห์นี้ เราเรียนรู้ถึงการนำ linear algebra ไปใช้แก้ปัญหาทางฟิสิกส์
ให้ weighted undirected graph G = (V,E) ขนาด n nodes m edges แทนวงจรไฟฟ้า โดยให้ node แทนจุดต่างๆในวงจร
และ edge (u,v) แทนตัวต้านทาน โดยน้ำหนักของ edge เท่ากับ 1/ความต้านทาน
นิยาม Matrix 4 matrices ดังนี้
1. U เป็น m*n เมทริกซ์ โดยสำหรับทุก edge (x,y) , U(x,y) = 1 และ U(y,x) = -1
2. W เป็น m*m diagonal เมทริกซ์ โดย W(x,x) คือน้ำหนักของ edge ที่ x
3. เป็น vector ขนาด n โดย คือศักย์ไฟฟ้า ณ node x
4. i เป็น vector ขนาด m โดย i(x) คือกระแสไฟฟ้าที่ไหลบน edge ที่ i
จะได้ว่า
จากกฎทางไฟฟ้าทำให้ได้ว่า ณ จุดใดๆของวงจร กระแสไฟฟ้าเข้าจะเท่ากับกระแสไฟฟ้าออก
และเพื่อให้เข้าใกล้การใช้งานจริงมากยิ่งขึ้น เราจะนิยามเวคเตอร์ โดย ค่าของเวคเตอร์นี้ที่โหนดใดๆ หมายถึงค่าของกระแส ที่ไหลเข้า/ออก จากกราฟ โดยผ่านโหนดนั้นๆ
จะเห็นว่า ซึ่ง laplacian ของ G นั้น มีค่าดังนี้
จึงสามารถเขียนได้ในรูป