ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Sgt/lecture3"
Pattara.s (คุย | มีส่วนร่วม) |
Tanee (คุย | มีส่วนร่วม) |
||
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
+ | <noinclude>{{Sgt/เนื้อหา}}</noinclude> | ||
+ | {{หัวคำบรรยาย|Spectral graph theory}} | ||
+ | |||
+ | |||
เนื้อหาในสัปดาห์นี้ จะเป็นความเกี่ยงเนื่องของ eigen value ลำดับที่ 2 กับกราฟ และบทพิสูจน์ | เนื้อหาในสัปดาห์นี้ จะเป็นความเกี่ยงเนื่องของ eigen value ลำดับที่ 2 กับกราฟ และบทพิสูจน์ | ||
== Intuitive of Rayleight Quotient term numerator == | == Intuitive of Rayleight Quotient term numerator == | ||
แถว 21: | แถว 25: | ||
Isoperimetric ratio of graph <math> \theta (G) = min_{S,|S|\leq n/2} \theta(S) </math> | Isoperimetric ratio of graph <math> \theta (G) = min_{S,|S|\leq n/2} \theta(S) </math> | ||
− | + | ณ จุดนี้ เราจะพิจารณาขอบล่างของ <math> \theta (G) </math> เทียบกับ <math> \lambda_{2} </math> โดยจะพิจารณาขอบบน ซึ่งก็คือ Cheeger Inequality ใน lecture ครั้งถัดไป | |
+ | |||
{{กล่องทฤษฎีบท|"For every <math>S \subset V, \theta (S) \geq {\lambda}_{2}(1-s), where s = \frac{|S|}{|V|} </math>"}} | {{กล่องทฤษฎีบท|"For every <math>S \subset V, \theta (S) \geq {\lambda}_{2}(1-s), where s = \frac{|S|}{|V|} </math>"}} | ||
{{เริ่มบทพิสูจน์}} | {{เริ่มบทพิสูจน์}} | ||
แถว 72: | แถว 77: | ||
</math> | </math> | ||
{{จบบทพิสูจน์}} | {{จบบทพิสูจน์}} | ||
+ | |||
+ | == The Adjacency Matrix == | ||
+ | |||
+ | กำหนดให้ A เป็น adjacency matrix ของกราฟ <math>G = (V,E)</math> โดยถ้าเรานำ vector x ไปคูณ ผลลัพธ์ที่ได้คือ | ||
+ | |||
+ | <math> (Ax)(u) = \sum\limits_{(u,v) \in E} w(u,v)x(v) </math> | ||
+ | |||
+ | พิจารณา regular graph G ที่มี degree d เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่าง laplacian matrix กับ adjacency matrix ได้โดย | ||
+ | |||
+ | <math> L = D - A = Id - A </math> | ||
+ | |||
+ | ถ้า <math>\lambda</math> และ <math>\varphi</math> เป็น eigen value และ eigen vector ที่สอดคล้องกันใน L แล้ว | ||
+ | |||
+ | <math> | ||
+ | \begin{align} | ||
+ | L\varphi &= (Id - A)\varphi = \lambda\varphi \\ | ||
+ | A\varphi &= (Id- L)\varphi = (d-\lambda)\varphi \\ | ||
+ | \end{align} | ||
+ | </math> | ||
+ | |||
+ | ได้ว่า <math>\mu = (d-\lambda)</math> และ <math>\varphi</math> เป็น eigen value และ eigen vector ที่สอดคล้องกันใน A | ||
+ | |||
+ | สังเกตว่าถ้ากราฟเป็น regular แล้ว eigen vector ของ L กับ A จะเป็นชุดเดียวกัน แต่มี eigen value ต่างกัน | ||
+ | |||
+ | กำหนดให้ <math> \mu_1 \geq \mu_2 \geq ... \geq \mu_n </math> เป็น eigen value ของ A | ||
+ | |||
+ | เมื่อกราฟ G เป็น regular ได้ว่า <math> \mu_1 = d </math> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 07:14, 26 พฤษภาคม 2558
บันทึกคำบรรยายวิชา Spectral graph theory นี้ เป็นบันทึกที่นิสิตเขียนขึ้น เนื้อหาโดยมากยังไม่ผ่านการตรวจสอบอย่างละเอียด การนำไปใช้ควรระมัดระวัง
เนื้อหาในสัปดาห์นี้ จะเป็นความเกี่ยงเนื่องของ eigen value ลำดับที่ 2 กับกราฟ และบทพิสูจน์
เนื้อหา
Intuitive of Rayleight Quotient term numerator
จาก
สังเกตว่า
ถ้าเรามองว่า คือการเปลี่ยนมิติ ของจุดจากกราฟมายังเส้นตรงแล้ว ราคาที่เพิ่มขึ้นจาก เส้นเชื่อมแต่ละเส้น จะเท่ากับระยะห่างของจุดปลายของเส้นเชื่อมนั้นบนเส้นตรงดังกล่าว
Terminology
สำหรับกราฟ และเซ็ตของปม เราจะนิยาม เป็นขนาดของคัท และ อัตราการขยายตัวของปริมาตรผ่านทางเส้นเชื่อม
Isoperimetric Inequality
Isoperimetric ratio of vertices set
Isoperimetric ratio of graph
ณ จุดนี้ เราจะพิจารณาขอบล่างของ เทียบกับ โดยจะพิจารณาขอบบน ซึ่งก็คือ Cheeger Inequality ใน lecture ครั้งถัดไป
"For every "
จาก Rayleight Quotient เรารู้ว่า
แสดงว่า ถ้าเราหยิบ vector ใด ๆ ซึ่งไม่ใช่ 0 ที่ตั้งฉากกับ vector 1 มา เราสามารถนำมาบอกขอบเขตของ ได้เสมอ
พิจารณา characteristic vector โดย
สังเกตว่า แต่ ไม่ตั้งฉากกับ vector
พิจารณา สังเกตว่า
จากนั้นเราจะพิจารณาผลของ
โดย
และ
ดังนั้น
The Adjacency Matrix
กำหนดให้ A เป็น adjacency matrix ของกราฟ โดยถ้าเรานำ vector x ไปคูณ ผลลัพธ์ที่ได้คือ
พิจารณา regular graph G ที่มี degree d เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่าง laplacian matrix กับ adjacency matrix ได้โดย
ถ้า และ เป็น eigen value และ eigen vector ที่สอดคล้องกันใน L แล้ว
ได้ว่า และ เป็น eigen value และ eigen vector ที่สอดคล้องกันใน A
สังเกตว่าถ้ากราฟเป็น regular แล้ว eigen vector ของ L กับ A จะเป็นชุดเดียวกัน แต่มี eigen value ต่างกัน
กำหนดให้ เป็น eigen value ของ A
เมื่อกราฟ G เป็น regular ได้ว่า